Page 179 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 179
(๓) บทบาทหน้าที่ในการเป็นกลไกอิสระระดับชาติเพื่อ against Torture and Other Cruel, Inhuman or
ติดตามพันธกรณีที่สนธิสัญญาก�าหนดไว้เป็นการเฉพาะ Degrading Treatment or Punishment: OPCAT) 1
สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งก�าหนดให้รัฐภาคีต้องจัดตั้งกลไกป้องกันการทรมาน
ที่จัดท�าขึ้นในระยะหลังบางฉบับมีบทบัญญัติที่ก�าหนดให้ ระดับชาติ (National Preventive Mechanism: NPM) 2
รัฐภาคีต้องจัดตั้งกลไกระดับชาติที่เป็นอิสระเพื่อติดตาม เพื่อตรวจเยี่ยมสถานที่ควบคุมตัวบุคคลประเภทต่าง ๆ
การปฏิบัติตามสนธิสัญญาของรัฐภาคี ได้แก่ อนุสัญญา อย่างสม�่าเสมอ เช่น ห้องขังผู้ต้องหาในสถานีต�ารวจ 3
ว่าด้วยสิทธิคนพิการ (Convention on the Rights of เรือนจ�า ทัณฑสถาน สถานพินิจและคุ้มครองเด็ก
Persons with Disabilities: CRPD) และพิธีสารเลือกรับ และเยาวชน สถานที่กักตัวผู้เข้าเมืองผิดกฎหมาย
ของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ (Optional Protocol สถานสงเคราะห์ โรงพยาบาลจิตเวช และสถานที่อื่น ๆ 4
to the Convention Against Torture: OPCAT) ที่บุคคลถูกจ�ากัดเสรีภาพเพื่อป้องกันการทรมาน
ซึ่งในหลายประเทศได้มอบหมายให้สถาบันสิทธิมนุษยชน ซึ่งในชั้นนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้หารือและทาบทาม 5
แห่งชาติท�าหน้าที่ดังกล่าว กสม. ให้พิจารณาท�าหน้าที่เป็นกลไกอิสระในการป้องกัน
การทรมานตามพิธีสาร OPCAT และ กสม. ได้ตอบรับ
๓๙
ในส่วนของอนุสัญญา CRPD กสม. ได้รับการทาบทาม ในหลักการแล้ว ที่ผ่านมา กสม. ได้ด�าเนินการ
ให้ท�าหน้าที่เป็นกลไกอิสระในการติดตามการปฏิบัติตาม ตรวจเยี่ยมสถานที่เสี่ยงพร้อมจัดท�ารายงานการตรวจเยี่ยม
๓๘
อนุสัญญา อย่างไรก็ดี ที่ผ่านมา แม้ กสม. จะได้รับเรื่อง อยู่แล้ว แม้ว่าประเทศไทยยังมิได้เป็นภาคีพิธีสารดังกล่าว
ร้องเรียนและมีข้อเสนอแนะในการคุ้มครองและส่งเสริม อย่างไรก็ดี กสม. อาจเตรียมการรองรับการเป็นกลไก
สิทธิของคนพิการก็ตาม หากยังมิได้มีกลไกภายในเป็นการ อิสระเพิ่มเติม เช่น การพัฒนาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ
เฉพาะในการติดตามการปฏิบัติตามอนุสัญญา CRPD และทักษะที่เหมาะสมในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว เป็นต้น
และด�าเนินการอย่างต่อเนื่องในการประสานงานอย่าง
ใกล้ชิดกับภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (stakeholders) อนึ่ง ในการด�าเนินบทบาทหน้าที่ในการเป็นกลไก
ทั้งภาครัฐ อาทิ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต อิสระติดตามพันธกรณีนั้น จ�าเป็นต้องได้รับการสนับสนุน
คนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ทั้งในด้านงบประมาณและบุคลากรอย่างเพียงพอ
ของมนุษย์ และภาคประชาสังคม โดยเฉพาะองค์กร ซึ่งหากมีบทบัญญัติทางกฎหมายที่ระบุชัดเจนว่าให้ กสม.
ด้านคนพิการ มีหน้าที่และอ�านาจในการติดตามหรือตรวจเยี่ยมสถานที่
ควบคุมตัวบุคคลประเภทต่าง ๆ อย่างสม�่าเสมอ รวมถึง
นอกจากนี้ ในระหว่างที่ประเทศไทยอยู่ก�าลังพิจารณา การปฏิบัติหน้าที่กลไกอิสระติดตามพันธกรณีแล้ว ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
เข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้าน ย่อมเอื้ออ�านวยให้ได้รับการสนับสนุนด้านทรัพยากร
การทรมานฯ (Optional Protocol to the Convention อย่างเพียงพอ
๓๘ อนุสัญญา CRPD ก�าหนดให้รัฐภาคีต้องจัดตั้งกลไกอิสระในการติดตามการปฏิบัติตามอนุสัญญา ส�าหรับประเทศไทย รัฐบาลโดยกระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้ทาบทามให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติท�าหน้าที่ดังกล่าว ตามหนังสือส�านักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตคนพิการแห่งชาติ ด่วนที่สุด ที่ พม ๐๖๐๒/๔๒๒๓ ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๒ ซึ่งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้ตอบรับท�าหน้าที่เป็น
กลไกอิสระตามข้อ ๓๓ วรรคสองของอนุสัญญา CPRD ตามหนังสือส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ด่วน ที่ สม ๐๐๐๑.๐๔/๒๒๐๒
ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒
๓๙ มติที่ประชุม กสม. ด้านบริหาร ครั้งที่ ๓๐/๒๕๕๙ เมื่อวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๕๙ เห็นชอบการท�าหน้าที่ของ กสม. เป็นกลไกป้องกันการทรมานระดับชาติ
(National Preventive Mechanism: NPM)
177