Page 169 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 169

๓.๗ ความร่วมมือระหว่างประเทศ  สถาบันแห่งชาติ (Principles relating to the status
              ด้านสิทธิมนุษยชนและการดำาเนินการ  of national institutions) หรือหลักการปารีส (Paris                  1
              เกี่ยวกับหนังสือสัญญาเกี่ยวกับ Principles) สร้างความเป็นผู้น�าด้านการส่งเสริมและ
              สิทธิมนุษยชน                                     คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ตลอดจนให้การสนับสนุนและ        2

                                                               อ�านวยความสะดวกในการประสานงานกับกลไก
                 กสม. ได้ประสานความร่วมมือด้านสิทธิมนุษยชนกับ  สิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศเพื่อเสริมสร้างสิทธิมนุษยชน   3
              พันธมิตรในเวทีระหว่างประเทศ ได้แก่ สถาบันสิทธิมนุษยชน  ในประเทศ โดยเฉพาะกับคณะมนตรีสิทธิมนุษยชน

              แห่งชาติ กลไกด้านสิทธิมนุษยชนในองค์การสหประชาชาติ  แห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council: HRC)
              องค์การระหว่างประเทศ ตลอดจนรัฐบาลและองค์กร  และกลไกภายใต้สนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน (Treaty           4
              ต่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีภารกิจหลักในการ Bodies) เนื่องจากสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเป็นกลไก
              เสริมสร้างความร่วมมือ ติดตามพัฒนาการที่ส�าคัญด้าน ภายในประเทศที่ท�าหน้าที่เบื้องต้นแทนกลไกสิทธิมนุษยชน   5
              สิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ การแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้อง สหประชาชาติ สามารถให้ข้อมูลและน�าเสนอรายงาน
              ด้านสิทธิมนุษยชนร่วมกัน โดยเฉพาะในเรื่องที่เป็นปัญหา เกี่ยวกับสถานการณ์ในประเทศได้อย่างเป็นอิสระและ
              ข้ามพรมแดน โดยได้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และ เชื่อถือได้ตามอ�านาจหน้าที่ภายใต้หลักการปารีส
              ตัวอย่างที่ดีในการด�าเนินงาน เพื่อส่งเสริมการเคารพ
              สิทธิมนุษยชนในประเด็นส�าคัญที่อยู่ในความสนใจร่วมกัน    กลไกการด�าเนินงานที่ส�าคัญของ GANHRI ประกอบด้วย

              อันจะช่วยเสริมสร้างความร่วมมือและภาพลักษณ์ที่ดี การประชุมประจ�าปี (Annual Meeting) การประชุม
              ขององค์กรในฐานะสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในเวที  นานาชาติ (International Conference) และกลไกการ
              ระหว่างประเทศ นอกจากนี้ ภารกิจที่ส�าคัญอีกประการหนึ่ง  ประเมินสถานะความสอดคล้องกับหลักการปารีสของ
              คือการท�าหน้าที่เป็นกลไกในระดับประเทศที่จะติดตาม สมาชิก (GANHRI Accreditation)
              การด�าเนินการภายในประเทศให้สอดคล้องกับพันธกรณี
              ตามหนังสือสัญญาที่ประเทศไทยเป็นภาคีและมีพันธกรณี    (๑) การประชุมประจ�าปี (Annual Meeting)
              ต้องปฏิบัติตาม รวมถึงมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหว่าง เป็นการประชุมเพื่อพบปะหารือกันเป็นประจ�าของสถาบัน

              ประเทศ โดยสรุปสาระส�าคัญได้ ดังนี้               สิทธิมนุษยชนแห่งชาติทั่วโลกที่เป็นสมาชิก ณ นครเจนีวา
                                                               จัดขึ้นโดยความร่วมมือระหว่าง GANHRI และส�านักงาน
              ๑) กรอบความร่วมมือเครือข่ายพันธมิตร  ข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
              ระดับโลกว่าด้วยสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ   (Office of High Commissioner for Human Rights:         ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
              (Global Alliance of National Human  OHCHR) และโดยปกติจะจัดขึ้นในช่วงเวลาเดียวกัน
              Rights Institutions: GANHRI)      ๓๗             กับการประชุมรอบปกติของ HRC ในช่วงระหว่างเดือน
              ๑.๑) ความสำาคัญของกลไก GANHRI                    กุมภาพันธ์ - มีนาคมของทุกปี เนื่องจากในช่วงการประชุม
                 GANHRI เกิดขึ้นจากการรวมกลุ่มกันในรูปแบบของ HRC นั้น สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจากแต่ละ
              องค์กรเครือข่ายสมาชิก (member-based body) ของ ประเทศสามารถเข้าร่วมรับฟังการประชุมได้และสถาบัน

              สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติทั่วโลก ปัจจุบันมี ๑๑๗  สิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่มีสถานะ ‘A’ สามารถแสดง
              สถาบัน ประกอบด้วยสมาชิกที่มีสถานะ ‘A’ จ�านวน   ข้อคิดเห็นของตนในวาระที่เกี่ยวข้องได้ ในขณะเดียวกัน
              ๘๔ สถาบัน และสมาชิกที่มีสถานะ ‘B’ จ�านวน ๓๓  GANHRI เข้าร่วมการประชุมและสามารถแสดงบทบาท
              สถาบัน (ข้อมูล ณ เดือนมกราคม ๒๕๖๔) และมิใช่องค์กร ในฐานะผู้แทนเครือข่ายในประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้
              ในเครือสหประชาชาติ (Non-UN body) มีวัตถุประสงค์ ในช่วงการประชุมประจ�าปีจะมีกิจกรรมต่าง ๆ ประกอบด้วย
              เพื่อประสานการด�าเนินงานและเสริมสร้างความเข้มแข็ง การประชุมคณะกรรมการบริหาร GANHRI (GANHRI
              ของสมาชิกให้สอดคล้องกับหลักการเกี่ยวกับสถานะของ Bureau) การประชุมสมัชชาใหญ่ (General Assembly)


              ๓๗  ชื่อเดิม คือ คณะกรรมการประสานงานระหว่างสถาบันแห่งชาติเพื่อการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (International Coordinating Committee
                of National Institutions for the Promotion and protection of Human Rights - ICC) ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๖



                                                                                                                 167
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174