Page 177 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 177
ในประเทศตามเวลาที่ก�าหนด โดยหลังจากที่พิจารณา จากกระบวนการ UPR เพื่อให้รัฐบาลด�าเนินงานสอดคล้อง
รายงานทั้งของภาครัฐและของภาคส่วนต่าง ๆ แล้ว กับข้อเสนอแนะที่รับมาปฏิบัติ รวมถึงให้ข้อเสนอแนะ 1
ประเทศต่าง ๆ จะให้ข้อเสนอแนะแก่ประเทศที่ถูกทบทวน เพื่อน�าไปสู่การปรับปรุงการปฏิบัติที่ท�าให้เกิดการเคารพ
ในประเด็นที่ยังควรต้องปรับปรุงซึ่งประเทศที่ถูกทบทวน และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้ดียิ่งขึ้น 2
มีสิทธิที่จะรับหรือไม่รับข้อเสนอแนะใด ๆ ก็ได้ หลังจากนั้น
ประเทศที่ถูกทบทวนจะต้องน�าข้อเสนอแนะที่รับมา ในห้วงที่ผ่านมา กสม. อาจยังไม่ได้ด�าเนินกระบวนการ 3
ไปปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรม และรายงานผลการปฏิบัติ ติดตามการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ UPR เป็นการเฉพาะ
ตามข้อเสนอแนะในการทบทวนรอบถัดไป และต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี เพื่อให้การติดตามการปฏิบัติตาม
ข้อเสนอแนะที่ได้รับจากกระบวนการ UPR มีประสิทธิผล 4
๔.๒) สรุปผลการดำาเนินงานและผลสำาเร็จที่สำาคัญ กสม. อาจพิจารณากลไกหรือกระบวนการติดตาม
ในปี ๒๕๖๔ ประเทศไทยครบก�าหนดส่งรายงาน UPR การปฏิบัติตามการด�าเนินการตามข้อเสนอแนะ 5
รอบที่ ๓ ซึ่ง กสม. อยู่ในระหว่างการจัดท�ารายงานคู่ขนาน ที่ประเทศไทยได้รับจากกระบวนการ UPR รวมถึง
ด้วยเพื่อจัดส่งให้สหประชาชาติพิจารณาควบคู่กับรายงาน การขับเคลื่อนให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องด�าเนินการ
ที่จัดท�าโดยรัฐบาล (ข้อมูล ณ เดือนมกราคม ๒๕๖๔) ตามข้อเสนอแนะที่ได้รับจากกระบวนการ UPR ให้เกิด
โดยสาระส�าคัญของรายงานจะประกอบด้วยเสนอ ผลเป็นรูปธรรมต่อไป
สถานการณ์และปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนที่ส�าคัญของไทย
ในช่วงปี ๒๕๕๙ - ๒๕๖๔ ความคืบหน้าการด�าเนินการ ๕) ความร่วมมือกับคณะกรรมการประจ�า
ตามข้อเสนอแนะที่ไทยรับมาปฏิบัติ สถานการณ์การ สนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน (Treaty
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) Bodies)
ที่ส่งผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน สถานการณ์การชุมนุม ๕.๑) ความสำาคัญของความร่วมมือกับคณะกรรมการ
ทางการเมืองของนักเรียน นิสิต นักศึกษาและประชาชน ประจำาสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน
รวมทั้งสถานการณ์และปัญหาสิทธิในกระบวนการ กสม. ในฐานะสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมี
ยุติธรรม นักปกป้องสิทธิมนุษยชน และความรุนแรง ความร่วมมือกับคณะกรรมการประจ�าสนธิสัญญา
ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พร้อมข้อเสนอแนะของ ด้านสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ (Treaty Bodies)
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่มีต่อประเด็น เพื่อส่งเสริมให้การด�าเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน
ปัญหาดังกล่าว ในประเทศสอดคล้องกับบรรทัดฐานและพันธกรณี
ด้านสิทธิมนุษยชนของไทยที่เกิดจากการเข้าเป็นภาคี ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ทั้งนี้ เมื่อด�าเนินการเสร็จสิ้นแล้ว ข้อมูลที่ปรากฏ สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนฉบับต่าง ๆ
ในรายงานคู่ขนานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชน
ของประเทศไทยตามกระบวนการ Universal Periodic การจัดท�ารายงานคู่ขนาน (Parallel Report) เพื่อเสนอ
Review รอบที่ ๓ ของ กสม. นอกจากจะน�าเสนอต่อ ต่อคณะกรรมการที่ได้รับการจัดตั้งตามสนธิสัญญา
สหประชาชาติเพื่อประกอบการพิจารณาของประเทศ ที่ประเทศไทยเป็นภาคีดังกล่าว ถือเป็นกลไกหนึ่งในการ
สมาชิกแล้ว กสม. จะน�าเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อน�ามา ติดตามการด�าเนินการของรัฐภาคีให้เป็นไปตามพันธกรณี
แก้ไขปัญหาสิทธิมนุษยชนภายในประเทศต่อไป และเจตนารมณ์ของสนธิสัญญาฉบับนั้น ๆ โดยสาระของ
รายงานจะประกอบด้วยพัฒนาการส�าคัญ ประเด็นปัญหา
๔.๓) ประเด็นสำาคัญที่เห็นว่าต้องดำาเนินการต่อเนื่อง ที่ กสม. เห็นว่าอาจยังมีการด�าเนินการที่ไม่สอดคล้องกับ
ข้อท้าทายและข้อเสนอแนะ พันธกรณี และข้อเสนอแนะต่อรัฐในการแก้ไขข้อจ�ากัด
ภายหลังจากที่กระบวนการพิจารณารายงาน UPR เหล่านั้น เพื่อส่งเสริมให้เกิดความเคารพและคุ้มครอง
ของประเทศไทยเสร็จสิ้น โดยรัฐบาลไทยจะประกาศ สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยให้ดียิ่งขึ้น การจัดท�ารายงาน
รับและไม่รับข้อเสนอแนะต่าง ๆ กสม. มีภารกิจในการ คู่ขนาน เพื่อให้ข้อมูลต่อคณะกรรมการประจ�าสนธิสัญญา
ท�าหน้าที่เป็นกลไกติดตามการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ ถือเป็นบทบาทหน้าที่ส�าคัญประการหนึ่งของสถาบัน
175