Page 167 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 167

ปีงบประม�ณ             เรื่องก�รศึกษ�วิจัย               ข้อค้นพบ/ข้อเสนอแนะที่สำ�คัญ              1

               ๒๕๖๐            ๔)  หลักการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ มีข้อค้นพบว่าการที่ความผิดฐานละเมิดอ�านาจศาลของ
                                   ของบุคคลในกรณีความผิดฐานละเมิด ประเทศไทยไม่ใช่โทษอาญา ก่อให้เกิดปัญหาคืออาจท�าให้
                                   อ�านาจศาล                     ผู้ถูกกล่าวหาต้องรับโทษในการกระท�ากรรมเดียว แต่รับโทษ   2
                                                                 สองครั้ง สิทธิในการต่อสู้คดีของผู้ถูกกล่าวหาไม่ได้รับ
                                                                 การคุ้มครองภายใต้กระบวนการยุติธรรมทางอาญา เช่น    3
                                                                 ไม่มีสิทธิในการมีทนายความและสิทธิในการเตรียมการ
                                                                 สู้คดี ไม่มีสิทธิได้รับการเยียวยาชดเชยความเสียหาย
                                                                 กรณีศาลชั้นที่สูงขึ้นพิจารณาว่าผู้ถูกลงโทษในความผิด  4
                                                                 ฐานนี้ มิได้กระท�าผิดฐานละเมิดอ�านาจศาล ฯลฯ
                               ๕)  สิทธิของชุมชนชาวกะเหรี่ยง (ปกาเกอญอ)   ควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการก�าหนดนโยบาย  5
                                   กับการด�าเนินเขตวัฒนธรรมพิเศษ  สาธารณะเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าไม้และควรสนับสนุน
                                   ไร่หมุนเวียนในพื้นที่ยุทธศาสตร์การแก้ไข  สิทธิร่วมของชุมชน (Common Property) เพื่อการใช้
                                   ปัญหาข้อพิพาทกรณีที่ดินท�ากิน และ ทรัพยากรธรรมชาติ หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องควร
                                   ที่อยู่อาศัยของชุมชนกะเหรี่ยงในพื้นที่ ร่วมกันด�าเนินการส�ารวจก�าหนดขอบเขตพื้นที่ไร่
                                   ป่าภาคเหนือ                   หมุนเวียน รวมถึงไร่ของแต่ละหมู่บ้าน แล้วขึ้นทะเบียน
                                                                 และประกาศให้เป็นเขตอนุรักษ์วัฒนธรรมพิเศษ หรือ
                                                                 เขตนิเวศวัฒนธรรมเกษตรพื้นบ้านของคนกะเหรี่ยง ฯลฯ

               ๒๕๖๑            ๑)  การเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิชุมชนของ ข้อค้นพบคือชาวประมงพื้นบ้านในอ่าวปัตตานีและหน่วยงาน
                                   ชุมชนประมงพื้นบ้านอ่าวปัตตานี  ของรัฐเข้าใจค�าว่าสิทธิชุมชนแตกต่างกัน กล่าวคือชาวประมง
                                                                 พื้นบ้านมองสิทธิชุมชนในลักษณะองค์รวม แต่หน่วยงาน
                                                                 ภาครัฐมองสิทธิชุมชนแบบแยกส่วน และมีข้อเสนอแนะ
                                                                 เกี่ยวกับด้านการจัดสรรพื้นที่อ่าวปัตตานีเพื่อการอนุรักษ์
                                                                 และใช้ประโยชน์ร่วมกันอย่างยั่งยืน ด้านการมีส่วนร่วม
                                                                 ระหว่างชุมชนในพื้นที่รอบอ่าวปัตตานีกับเจ้าหน้าที่
                                                                 ภาครัฐ ฯลฯ

                               ๒)  ความเชื่อมโยงระหว่างสิทธิชุมชนกับ มีข้อค้นพบตราสารระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อม  ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                                   ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  ซึ่งมี ๔ ฉบับ เช่น ปฏิญญาริโอว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา
                                   ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย   ค.ศ. 1992 เป็นต้น ไม่มีตราสารฉบับใดที่กล่าวถึงค�าว่า
                                   พุทธศักราช ๒๕๖๐: องค์ความรู้และ “สิทธิชุมชน” โดยตรง แต่มีค�าว่า “ชุมชน” “ชุมชนท้องถิ่น” และ
                                   แนวปฏิบัติในการรับรองสิทธิชุมชน  “ชุมชนพื้นเมืองดั้งเดิม” รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
                                                                 พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้บัญญัติเกี่ยวกับสิทธิของชุมชน
                                                                 ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แม้ไม่ได้
                                                                 ปรากฏชัดเจนว่า มีหลักการใด ๆ ที่ยึดโยงกับตราสาร
                                                                 ระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่ได้น�าหลักการ
                                                                 ตามตราสารระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อม มาบัญญัติไว้















                                                                                                                 165
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172