Page 139 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 139

การแก้ไขเพิ่มเติมในครั้งนี้ได้ท�าให้ค�านิยามของการข่มขืน คำาชี้แจง                                   1
              แคบลง โดยระบุว่าการข่มขืนคือการใช้อวัยวะเพศชายล่วง  กรณีการคุกคามทางเพศเป็นการกระท�าที่ผิด
              ล�้าผู้อื่นทางกาย ส่งผลให้ผู้เสียหายไม่ได้รับการเยียวยา กฎหมายทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน โดยการคุกคาม
              ตามกฎหมาย                                        ทางเพศที่ถือว่าเป็นการกระท�าอนาจารอาจต้องโทษ        2
                                                               จ�าคุกสูงสุด ๑๕ ปีและโทษปรับสูงสุด ๓๐,๐๐๐ บาท
                 การกล่าวอ้างว่าผู้กระท�าผิดในคดีใช้ก�าลังท�าร้าย  นอกจากนี้ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน  3
              ทางเพศผู้มีอายุต�่ากว่า  ๑๘  ปี  สามารถหลีกเลี่ยง  ห้ามมิให้คุกคามทางเพศ องค์กรนอกภาครัฐอ้างว่า

              การด�าเนินคดีหากประสบความส�าเร็จในการเข้าร่วม ค�าจ�ากัดความตามกฎหมายของค�าว่าการคุกคามทางเพศ
              โครงการบ�าบัดฟื้นฟูนั้น ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๗   มีความคลุมเครือและท�าให้การด�าเนินคดีประเภทนี้   4
              ที่แก้ไขเมื่อเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๒ มิได้ยกเว้นโทษ  เป็นเรื่องล�าบาก
              การข่มขืนเด็ก  แต่ในกรณีที่เด็กมีเพศสัมพันธ์กัน                                                      5
              โดยสมัครใจ กฎหมายให้ศาลมีอ�านาจพิจารณาให้มี         ประเด็นความคลุมเครือของค�าจ�ากัดความของ
              การคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก ทั้งเด็กผู้กระท�าและเด็ก  การคุกคามทางเพศ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ มีการ
              ผู้ถูกกระท�า ตามกฎหมายคุ้มครองเด็ก กรณีการแก้ไขนิยาม แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๙๗
              การข่มขืนให้แคบลงนั้น การล่วงละเมิดโดยใช้อวัยวะอื่น  ก�าหนดโทษส�าหรับการกระท�าที่มีลักษณะเป็นการคุกคาม
              หรือวัตถุอื่นได้ถูกก�าหนดให้เป็นความผิดเกี่ยวกับ  ทางเพศ ซึ่งได้แก่การกระท�าด้วยประการใด ๆ ต่อผู้อื่น

              การกระท�าอนาจารตามมาตรา ๒๗๘ วรรคสอง ซึ่งมี อันเป็นการรังแก ข่มเหง คุกคาม หรือกระท�าให้ได้รับ
              บทก�าหนดโทษเท่ากับความผิดฐานข่มขืนกระท�าช�าเรา  ความอับอายหรือเดือดร้อนร�าคาญ รวมถึงการกระท�า
              ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๒๗๖ และมาตรา  ในที่สาธารณสถานหรือต่อหน้าธารก�านัลหรือเป็นการ
              ๒๗๗ ที่ได้รับการแก้ไขเมื่อเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๒      กระท�าอันมีลักษณะส่อไปในทางที่จะล่วงเกินทางเพศและ
                                                               กระท�าโดยอาศัยเหตุที่ผู้กระท�ามีอ�านาจเหนือผู้ถูกกระท�า
              คำาชี้แจง
                 กรณีระบุว่า  องค์กรที่ไม่ใช่องค์กรภาครัฐและ      โดยที่มีข้อกังวลเกี่ยวกับหลักความเป็นอิสระในการ

              สหประชาชาติรายงานว่า บุคคลที่มีความหลากหลาย ปฏิบัติหน้าที่ตามบทบัญญัติของกฎหมายประการนี้
              ทางเพศถูกเลือกปฏิบัติในหลายภาคส่วน รวมทั้งใน ในการด�าเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับข้อกังวล
              กระบวนการการเกณฑ์ทหารขณะถูกคุมขัง และจาก ดังกล่าว กสม. ชุดที่ ๓ จึงได้ประกาศใช้ระเบียบ กสม.
              นโยบายที่เคร่งครัดเกี่ยวกับเครื่องแบบของโรงเรียน ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการชี้แจงและรายงาน    ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
              และมหาวิทยาลัย ซึ่งก�าหนดให้นักเรียนนักศึกษาต้อง  ข้อเท็จจริง กรณีมีการรายงานสถานการณ์เกี่ยวกับ
              สวมเครื่องแบบที่ตรงกับเพศก�าเนิด ผู้ที่ไม่ปฏิบัติตาม สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องหรือไม่เป็น
              ระเบียบการแต่งกายของโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย   ธรรม พ.ศ. ๒๕๖๔ ส�าหรับเป็นกรอบการท�าหน้าที่
              อาจถูกปฏิเสธไม่ให้เอกสารแสดงการจบการศึกษา   ทั้งยังเพื่อให้สอดคล้องกับอ�านาจและหน้าที่กึ่งตุลาการ
              ถูกลดเกรด หรือทั้งสองอย่าง                       (quasi - judicial) ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

                                                               ตามหลักการปารีสด้วย
                 กสม. ได้มีข้อเสนอแนะขอให้พิจารณาแก้ไขกฎหรือ
              ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการแต่งกายในการเข้าเรียน
              สอบ ฝึกปฏิบัติงาน และการเข้ารับพระราชทานปริญญา
              บัตรให้สอดคล้องตามพระราชบัญญัติความเท่าเทียม
              ระหว่างเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งได้มีมหาวิทยาลัยจ�านวน
              หนึ่งยอมรับและด�าเนินการตามข้อเสนอแนะดังกล่าวแล้ว








                                                                                                                 137
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144