Page 134 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 134

คำาชี้แจง                                           เมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๖๑ หัวหน้า คสช. ได้มีค�าสั่ง
                กรณีที่รายงานว่าสมาคมการประมงแห่งประเทศไทย   หัวหน้า คสช. ที่ ๒๒/๒๕๖๑ เรื่องการให้ประชาชนและ
            (NFAT) ซึ่งมีอิทธิพลได้รณรงค์ต่อต้านการให้สัตยาบัน  พรรคการเมืองด�าเนินกิจกรรมทางการเมือง ยกเลิกค�าสั่ง
            และการด�าเนินงานตามอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่าง หัวหน้า คสช. จ�านวนหลายฉบับรวมทั้งการยกเลิก
            ประเทศ ฉบับที่ ๑๘๘ ว่าด้วยการท�างานในภาคประมง  ความผิดฐานมั่วสุมหรือชุมนุมทางการเมืองเกินกว่าห้าคน
            ซึ่งจะให้ความคุ้มครองอย่างเพียงพอกับคนงานประมง  ขึ้นไป ท�าให้ประชาชนและพรรคการเมืองสามารถด�าเนิน
            ที่เสี่ยงภัย                                     กิจกรรมทางการเมืองได้ตั้งแต่วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๖๑



                ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันอนุสัญญาองค์การแรงงาน คำาชี้แจง
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
            ระหว่างประเทศ ฉบับที่ ๑๘๘ เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม     กรณีที่รายงานว่า กสม. ได้รับค�าร้อง ๒๒๕ เรื่อง
            ๒๕๖๒ และจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๓  นับตั้งแต่เดือนตุลาคม ๒๕๖๐ จนถึงเดือนกันยายน ๒๕๖๑
            ต่อมาได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน  ในจ�านวนนี้มี ๓๖ เรื่องเกี่ยวข้องกับข้อกล่าวหาการกระท�า
            ในงานประมง พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งอนุวัติตามอนุสัญญาดังกล่าว มิชอบโดยต�ารวจ กลุ่มสิทธิมนุษยชนยังคงวิพากษ์วิจารณ์
                                                             กสม. ที่ไม่ยื่นฟ้องร้องผู้กระท�าการละเมิดสิทธิมนุษยชน
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
            คำาชี้แจง                                        ด้วยตนเองหรือในนามของผู้ร้องเรียน
                กรณีที่รายงานว่ากระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ

            จัดให้ประเทศไทยอยู่ใน Tier 2 ในรายงานประจ�าปีว่าด้วย   ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน
            การค้ามนุษย์ และคณะมนตรียุโรปได้แสดงข้อกังวล  ๒๕๖๑ มีเรื่องร้องเรียนที่ กสม. รับเป็นค�าร้อง จ�านวน
            เกี่ยวกับการค้ามนุษย์และแรงงานบังคับในเรือประมงไทย  ๒๓๒ เรื่อง ในจ�านวนนี้มีกรณีข้อกล่าวหาว่าเป็นการ
            โดยได้ให้ใบเหลืองกับประเทศไทย ซึ่งเป็นสัญญาณเตือน กระท�ามิชอบโดยต�ารวจ จ�านวน ๙ เรื่อง ส่วนการไม่ยื่น
            ว่าอาจมีการคว�่าบาตรทางการค้าเนื่องจากการท�าประมง ฟ้องร้องผู้กระท�าการละเมิดสิทธิมนุษยชนด้วยตนเองหรือ
            ที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และขาดการควบคุม   ในนามของผู้ร้องเรียนนั้น ขอชี้แจงว่า พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐
            (IUU fishing)                                    ไม่ได้ก�าหนดให้ กสม. มีหน้าที่และอ�านาจในการฟ้องคดี

                                                             แทนผู้ร้องเรียน
                เมื่อวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๒ สหภาพยุโรปได้ประกาศ
            ปลดสถานะใบเหลืองของภาคประมงไทย                   ๕.  ค�าชี้แจงที่  ๑/๒๕๖๓  กรณีรายงาน
                                                             สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในภูมิภาคเอเชีย
            ๔. ค�าชี้แจงที่ ๒/๒๕๖๒ กรณีการรายงาน แปซิฟิก ประจ�าปี ๒๕๖๒ ของแอมเนสตี้
            การปฏิบัติด้านสิทธิมนุษยชนประจ�าปี ๒๕๖๑  อินเตอร์เนชั่นแนล ลงวันที่ ๒๑ เมษายน
            ของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา  ๒๕๖๓
            ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๒                       คำาชี้แจง

            คำาชี้แจง                                           กรณีที่รายงานว่าสมาชิกพรรคอนาคตใหม่ซึ่งเป็น
                กรณีที่รายงานว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พรรคฝ่ายค้านถูกด�าเนินคดีหลายข้อหา ขณะที่หัวหน้า
            พุทธศักราช ๒๕๖๐ ให้เสรีภาพในการชุมนุมอย่างสงบ  พรรคถูกเพิกถอนสิทธิการด�ารงต�าแหน่งเป็นสมาชิก
            ซึ่งต้องเป็นไปตามข้อจ�ากัดของบทบัญญัติแห่งกฎหมาย  รัฐสภา ซึ่งหลายฝ่ายมองว่าเป็นการกระท�าที่มีแรงจูงใจ
            ที่บังคับใช้ “อย่างไรก็ดี ค�าสั่ง คสช. ที่ประกาศใช้ภายใต้  ทางการเมือง ทางการยังมองหาแนวทางที่จะยุบพรรค
            มาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย   ดังกล่าว หลังจากเคยยุบพรรคไทยรักษาชาติมาแล้ว
            (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ยังคงห้ามการชุมนุม เมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๖๒
            ทางการเมืองของบุคคลตั้งแต่ห้าคนขึ้นไปและก�าหนด

            บทลงโทษผู้ที่สนับสนุนการชุมนุมทางการเมืองใด ๆ ก็ตาม





       132
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139