Page 135 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 135

การเพิกถอนสิทธิของบุคคลดังกล่าวเป็นไปตาม  คำาชี้แจง
              ค�าวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ ๑๔/๒๕๖๒ ลงวันที่     กรณีที่รายงานว่าผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยยังคงเสี่ยงที่จะ  1
              ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ซึ่งศาลฯ เป็นองค์กรตาม ถูกจับกุม ควบคุมตัวและส่งกลับ เนื่องจากไม่มีสถานภาพ
              รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐  ตามกฎหมายไทย กระบวนการขั้นตอนในการพิจารณา              2
              หมวด ๑๑                                          ก�าหนดสถานะบุคคลเข้าเมืองที่ทางราชการประกาศใน
                                                               เดือนมกราคม ๒๕๖๐ ได้ประกาศใช้ในช่วงปลายปี ๒๕๖๒      3

              คำาชี้แจง
                 กรณีที่รายงานว่าทางการคุกคามบุคคลซึ่งวิจารณ์     ปัจจุบันรัฐบาลไทยได้มีการประกาศใช้ระเบียบส�านัก
              สถาบันพระมหากษัตริย์หรือหน่วยงานของกองทัพ   นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการคัดกรองคนต่างด้าวที่เข้ามา         4
              ในหลายกรณีได้บังคับให้พวกเขาลบหรือถอนค�าพูด  ในราชอาณาจักรและไม่สามารถเดินทางกลับประเทศ
              หรือให้เซ็นเซอร์ตัวเอง รัฐบาลยังกดดันบรรดาผู้ให้บริการ อันเป็นภูมิล�าเนาได้ พ.ศ. ๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม   5
              โซเชียลมีเดียให้จ�ากัดการเข้าถึงเนื้อหาดังกล่าวจาก  ๒๕๖๒ ซึ่งจะมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นก�าหนด ๑๘๐ วัน
              ภายในประเทศไทย นักการเมืองและนักกิจกรรมทาง  นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (คือ วันที่ ๒๒
              การเมืองระบุว่า ตนตกเป็นเหยื่อการติดตามตัวและ  มิถุนายน ๒๕๖๓) เป็นต้นไป
              การคุกคามโดยเจ้าหน้าที่ทหาร รวมทั้งระหว่างที่มี
              การเลือกตั้งและก่อนพิธีพระบรมราชาภิเษก           ๖. ค�าชี้แจง ที่ ๒/๒๕๖๓ กรณีรายงานสรุป
                                                               สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย

                 ประเทศไทยมีกฎหมายที่คุ้มครองสถาบัน  ขององค์กรฮิวแมนไรทส์ วอทช์ ประจ�าปี
              พระมหากษัตริย์ ทั้งในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย   ๒๕๖๓ ลงวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๖๓
              พุทธศักราช ๒๕๖๐ และประมวลกฎหมายอาญา โดยการ คำาชี้แจง
              พิจารณาผู้ที่ถูกกล่าวหาว่ากระท�าความผิดตามกฎหมาย    กรณีที่รายงานว่าการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม
              ดังกล่าวเป็นอ�านาจของศาลยุติธรรมซึ่งจะต้องค�านึงถึงข้อ ๒๕๖๒ ถูกจัดขึ้นภายใต้ข้อจ�ากัดด้านสิทธิพลเมืองและ
              เท็จจริงแต่ละกรณีและบทบัญญัติของกฎหมายประกอบกัน สิทธิทางการเมือง นายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์

                                                               จันทร์โอชา) เริ่มด�ารงต�าแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง
              คำาชี้แจง                                        ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการเพิกเฉยต่อเรื่องสิทธิมนุษยชน
                 กรณีที่รายงานว่าระหว่างเดือนพฤษภาคมถึง เช่นเดียวกันกับสมัยที่ปกครองโดยรัฐบาลทหาร
              กรกฎาคม ๒๕๖๒ ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนค�าสั่งศาล                                                        ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
              ชั้นต้นจ�าคุกเกษตรกรหญิง ๑๔ คน เป็นเวลาสูงสุดถึง    การเลือกตั้งทั่วไปและการจัดตั้งรัฐบาลหลังการเลือกตั้ง
              ๑๐ ปี ในคดีที่อุทยานแห่งชาติไทรทอง จังหวัดชัยภูมิ  ทั่วไปดังกล่าวเป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
              ฟ้องร้องข้อหาบุกรุกพื้นที่ป่า                    พุทธศักราช ๒๕๖๐ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น
                                                               พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง
                 กรณีราษฎรในเขตอุทยานแห่งชาติไทรทอง จังหวัด พ.ศ. ๒๕๖๐ และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

              ชัยภูมิ ถูกด�าเนินคดีในข้อหาบุกรุกเขตอุทยานแห่งชาติ ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๑
              นั้น ศาลอุทธรณ์ได้มีค�าพิพากษาว่าราษฎรซึ่งมีทั้งชาย
              และหญิงรวม ๑๔ คน มีความผิดต่อพระราชบัญญัติ  คำาชี้แจง
              ป่าสงวนแห่งชาติ พระราชบัญญัติป่าไม้ พระราชบัญญัติ   กรณีที่รายงานว่า การทรมานเป็นปัญหาที่เกิดขึ้น
              อุทยานแห่งชาติ  ซึ่งโทษจ�าคุกที่แต่ละรายได้รับนั้น   อย่างยาวนานในประเทศไทย แต่ประมวลกฎหมายอาญา
              พบว่ารายที่ได้รับโทษจ�าคุกต�่าสุดคือจ�าคุก ๔ เดือน และ ยังไม่ยอมรับว่าการทรมานเป็นความผิดทางอาญา และ
              รายที่ได้รับโทษจ�าคุกสูงสุดคือจ�าคุก ๔ ปี        ประเทศไทยได้ลงนามในอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วย

                                                               การคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญโดยถูก





                                                                                                                 133
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140