Page 136 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 136
บังคับเมื่อเดือนมกราคม ๒๕๕๕ แต่ยังไม่ได้ให้สัตยาบัน ปัญหาดังกล่าวได้รับการแก้ไขแล้ว โดยตั้งแต่วันที่
ในส่วนของประมวลกฎหมายอาญาของไทยยังไม่มี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ประธาน กสม. ได้มีหนังสือถึง
บทบัญญัติในความผิดเกี่ยวกับการบังคับบุคคลให้สูญหาย ประธานศาลฎีกาและประธานศาลปกครองสูงสุด
ไว้เป็นการเฉพาะ หลายฉบับเพื่อให้ร่วมกันด�าเนินการตาม พ.ร.ป. กสม.
๒๕๖๐ มาตรา ๖๐ วรรคสาม ประกอบมาตรา ๒๒
ประมวลกฎหมายอาญาของไทยบางมาตราได้ก�าหนด เมื่อถึงวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ประธานศาลฎีกา
ฐานความผิดที่ท�าให้สามารถด�าเนินคดีกับผู้กระท�า และประธานศาลปกครองสูงสุดได้ร่วมกันแต่งตั้ง
ความผิดที่เกี่ยวกับการทรมานและการบังคับบุคคล ผู้ท�าหน้าที่เป็นกรรมการชั่วคราวจ�านวน ๔ คน ท�าให้
ให้สูญหายได้ ในส่วนของการปรับปรุงกฎหมายให้ กสม. ปฏิบัติหน้าที่ได้
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
สอดคล้องกับพันธกรณีตามอนุสัญญา CAT รัฐบาลได้
จัดท�าร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม คำาชี้แจง
การทรมานและการกระท�าให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. .... กรณีที่รายงานว่าเครือข่ายพันธมิตรระดับโลกว่าด้วย
ซึ่งก�าหนดให้การทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหาย สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (GANHRI) ประเมินสถานะ
เป็นความผิดอาญา เสนอไปยังสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ของคณะกรรมการอยู่ในระดับต�่ากว่ามาตรฐาน เนื่องจาก
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
แต่สภานิติบัญญัติแห่งชาติหมดวาระลงก่อน คณะรัฐมนตรี กระบวนการสรรหาคณะกรรมการ และการขาดความเป็น
จึงได้น�าร่างกฎหมายฉบับนี้กลับมาจัดการรับฟังความเห็น อิสระทางการเมือง
คำาชี้แจง กสม. ชุดปัจจุบันได้ด�าเนินการเพื่อให้มีการแก้ไข
กรณีที่รายงานระบุว่า แม้จะมีเสียงเรียกร้องจาก กฎหมายใน ๒ ประเด็น (กระบวนการสรรหา และ
ภาคประชาสังคม แต่ทางรัฐบาลยังไม่ได้ด�าเนินการ ความคุ้มกัน) โดยท�าความเข้าใจกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
อย่างเป็นรูปธรรมในการยุติการด�าเนินคดีเพื่อปิดปาก ท�าให้บทบัญญัติของ พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ ในส่วนที่
เพื่อต่อต้านการมีส่วนร่วมของประชาชน (SLAPP) เกี่ยวกับกระบวนการสรรหาและความคุ้มกันในการปฏิบัติ
ซึ่งกระท�าโดยหน่วยงานของรัฐและบริษัทเอกชนเพื่อ หน้าที่ของ กสม. สอดคล้องกับข้อเสนอแนะของ GANHRI
ข่มขู่คุกคามนักกิจกรรมและนักรณรงค์ด้านสิทธิ ส�าหรับปัญหาความล่าช้าในการจัดท�ารายงานการชุมนุม
ทางการเมืองในประเด็นที่ ๓ กสม. ได้มีการก�าหนด
ในประเด็นการคุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชน แนวทางการท�างานให้สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์
นี้ ส�านักงานศาลยุติธรรมได้มีการปรับปรุงกฎหมายเพื่อ สิทธิมนุษยชนที่ส�าคัญในประเทศได้อย่างทันเหตุการณ์แล้ว
ป้องกันการด�าเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์เพื่อระงับการมี
ส่วนร่วมของสาธารณชน (SLAPP) โดยเพิ่มเติมประมวล คำาชี้แจง
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๒ มาตรา ได้แก่ มาตรา กรณีที่รายงานระบุว่า ประเทศไทยไม่ได้เป็นภาคี
๑๖๑/๑ เพื่อให้ศาลสามารถใช้ดุลพินิจสั่งไม่รับฟ้องคดี ของอนุสัญญาผู้ลี้ภัย พ.ศ. ๒๔๙๔ หรือพิธีสารผู้ลี้ภัย
ที่ราษฎรเป็นโจทก์ หากศาลพิจารณาว่าผู้ฟ้องคดีมีเจตนา พ.ศ. ๒๕๑๐ ทางการไทยยังคงปฏิบัติต่อผู้แสวงหา
ไม่สุจริตหรือบิดเบือนข้อเท็จจริงเพื่อกลั่นแกล้งจ�าเลย ที่พักพิง รวมถึงผู้ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ลี้ภัย
และมาตรา ๑๖๕/๒ เพื่อให้จ�าเลยสามารถน�าพยานมาสืบ จากข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR)
ในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง เสมือนผู้อพยพที่ผิดกฎหมายซึ่งสามารถจับกุมและให้ออก
นอกประเทศได้ และทางการไทยปฏิเสธที่จะให้ UNHCR
คำาชี้แจง ด�าเนินการก�าหนดสถานะผู้ลี้ภัยให้แก่กลุ่มชาติพันธุ์
กรณีที่รายงานว่ารัฐบาลยังไม่ได้ด�าเนินการปรับปรุง
กสม. แม้ว่าการลาออกของสองนักสิทธิมนุษยชนชื่อดัง
จะส่งผลให้คณะกรรมการมีองค์ประชุมไม่ครบตาม
กฎหมายตั้งแต่เดือนกรกฎาคมก็ตาม
134