Page 144 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 144

(๑) ระดับมัธยมศึกษา ได้แก่ โรงเรียนศรียาภัย จังหวัด  ๓.๕.๔ การกระตุ้นและสร้างบุคคลต้นแบบ

            ชุมพร ผลงานภาพยนตร์สั้น เรื่อง “กระสุนฝังใจ...   ด้านสิทธิมนุษยชน (Human Rights Idol)
            (The Imprint)” สะท้อนปรากฏการณ์ในสถานการณ์          กสม. ชุดที่ ๓ ให้ความส�าคัญกับการค้นหา สนับสนุน
            การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา  2019  ส่งเสริม และเชิดชูให้มีบุคคลหรือองค์กรต้นแบบด้าน
            (COVID-19) ในสังคมไทย โดยเนื้อหาส่งเสริมให้ผู้ชม สิทธิมนุษยชน โดยมีผลการด�าเนินงานที่ส�าคัญ ดังนี้
            ตระหนักในสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานทั้งของตนเอง
            และผู้อื่น รวมถึงให้ทุกคนในสังคมระมัดระวังการใช้    ๑)  การจัดงานเนื่องในโอกาสวันสิทธิมนุษยชน

            สื่อสังคมออนไลน์ ไม่ใช้เพื่อท�าร้ายหรือท�าลายผู้อื่น   สากล ๑๐ ธันวาคม และการมอบรางวัลให้แก่บุคคล
            โดยไม่ได้พิจารณาถึงข้อมูลอันแท้จริงและตัดสินผู้อื่น  หรือองค์กรที่มีผลงานดีเด่นด้านส่งเสริม ปกป้องและ
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
            ด้วยการใช้ถ้อยค�าต่าง ๆ                          คุ้มครองสิทธิมนุษยชน เป็นการจัดงานประจ�าทุกปี
                                                             ต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี ๒๕๔๘ เพื่อรณรงค์เสริมสร้างแนวคิด
                (๒) ระดับอุดมศึกษา ได้แก่ วิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์   และหลักการด้านสิทธิมนุษยชน สร้างความตระหนัก และ
            จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงาน “สิทธิมนุษยชนล�าเพลิน”  กระตุ้นให้เกิดกระแสสังคม สร้างความสนใจและการ
            ศิลปะการแสดงนาฏศิลป์พื้นบ้านอีสานในท�านองกลอน  รับรู้ของประชาชน โดยมีการมอบรางวัลให้กับบุคคลและ
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
            ล�าประเภทล�าเพลิน  โดยประพันธ์เนื้อร้องเกี่ยวกับ  องค์กรที่มีผลงานด้านสิทธิมนุษยชนดีเด่น เพื่อยกย่อง
            สิทธิมนุษยชนและให้ความรู้เรื่องการดูแลและป้องกัน เชิดชู และประกาศเกียรติคุณให้สังคมได้รับรู้ สร้างขวัญ

            ตนเองในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ  และก�าลังใจให้แก่บุคคลและองค์กรที่มีบทบาทในการ
            ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ถ่ายทอดผ่านภาษาถิ่น  ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนอย่างต่อเนื่องและเป็นที่
            และมีการฟ้อนร�าสอดแทรกภาษามือในบางช่วง เพื่อสื่อ ประจักษ์และมีความมุ่งมั่นอุทิศตนเองในการท�างาน
            ความหมายกับผู้ที่ไม่ได้ยินเสียง                  แม้ต้องเผชิญความยากล�าบาก ส�าหรับปี ๒๕๕๙ - ๒๕๖๒
                                                             มีผู้ได้รับรางวัลแต่ละปี ดังนี้ ๓๓








































            ๓๓  ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, “รางวัลสิทธิมนุษยชนดีเด่น”, ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, สืบค้นเมื่อ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๔,
            http://www.nhrc.or.th/NHRCT-Work/Human-Rights-Defenders-Award.aspx?str.



       142
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149