Page 131 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 131

สังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นหน่วยงานหลัก   คำาชี้แจง                                              1
              รับเรื่องไปพิจารณาร่วมกับกระทรวงมหาดไทย กระทรวง     กรณีกล่าวอ้างว่า สนช. ระงับการพิจารณาร่างพระราช
              ยุติธรรม กระทรวงศึกษาธิการ ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ   บัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและกระท�าให้
              กรมประชาสัมพันธ์ ส�านักงานคณะกรรมการกิจการ บุคคลสูญหาย พ.ศ. .... โดยรัฐบาลยังไม่มีการชี้แจงว่า       2
              กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม จะบรรจุร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้เข้าสู่การพิจารณา
              แห่งชาติ  คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติและ  อีกหรือไม่ และประมวลกฎหมายอาญายังไม่ก�าหนด              3
              หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อศึกษาแนวทางหรือผลการ  ฐานความผิดส�าหรับการบังคับบุคคลให้สูญหาย

              ด�าเนินการดังกล่าวในภาพรวมแล้วส่งให้ส�านักเลขาธิการ
              คณะรัฐมนตรีภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งค�าสั่ง  กรณีพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม           4
              เพื่อน�าเสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป                     การทรมานและบังคับบุคคลให้สูญหาย พ.ศ. .... นั้น
                                                               เมื่อวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๐ คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้    5
              ๓.๔ การชี้แจงและรายงานข้อเท็จ กระทรวงยุติธรรมไปด�าเนินการพิจารณาร่วมกับหน่วยงาน
              จริงที่ถูกต้องโดยไม่ชักช้าในกรณีที่ ที่เกี่ยวข้องแล้ว ปัจจุบันอยู่ระหว่างการจัดท�าประชาพิจารณ์
              มีการรายงานสถานการณ์เกี่ยวกับ แม้ยังไม่มีกฎหมายในเรื่องนี้แต่รัฐบาลไทยได้มีค�าสั่งส�านัก
              สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไม่ นายกรัฐมนตรีที่ ๑๓๑/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม
              ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม                           ๒๕๖๐ แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์

                                                               กรณีถูกกระท�าทรมานและถูกบังคับให้หายสาบสูญ
                 เป็นหน้าที่และอ�านาจใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่ง  มีหน้าที่รับเรื่องราวร้องทุกข์ ตรวจสอบข้อเท็จจริง ติดตาม
              ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๔๗  ช่วยเหลือเยียวยา และคุ้มครองสิทธิให้แก่ประชาชน
              (๔) และตาม พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๖ (๔) และ ในกรณีถูกกระท�าทรมานและบังคับให้หายสาบสูญ
              มาตรา ๔๔ โดย กสม. ชุดที่ ๓ ได้ชี้แจงและจัดท�าค�าชี้แจง
              ตามหน้าที่และอ�านาจประการนี้ จ�านวน ๘ ฉบับ ดังนี้  คำาชี้แจง
                                                                  กรณีกล่าวอ้างว่ายังไม่มีการด�าเนินคดีกับเจ้าหน้าที่

              ๑. ค�าชี้แจงที่ ๑/๒๕๖๑ กรณีการรายงานสรุป  ทหารหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการสังหาร
              สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และการท�าให้พลเรือนบาดเจ็บในช่วงการประท้วง
              ขององค์กรฮิวแมนไรทส์วอทช์                        ทางการเมืองในปี ๒๕๕๓ และการด�าเนินคดีกับผู้กระท�า
              คำาชี้แจง                                        ความผิดต่อเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองในช่วงปี  ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                 กรณีกล่าวอ้างว่าการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับ กสม.  ๒๕๕๖ - ๒๕๕๗ ไม่มีความคืบหน้าอย่างชัดเจน
              ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) จะท�าให้ กสม. อ่อนแอ
              ลงอย่างมาก ขาดความเป็นอิสระ และเปลี่ยนให้หน่วยงาน   กสม. ได้มีรายงานผลการตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณี
              นี้เป็นเพียงกระบอกเสียงของรัฐบาล                 เหตุการณ์ชุมนุมประท้วงทางการเมืองเมื่อปี ๒๕๕๓
                                                               และปี ๒๕๕๖ - ๒๕๕๗ ซึ่งมีข้อเสนอแนะให้มีการสืบสวน

                 ในระหว่างการตรา พ.ร.ป. กสม. เรียกร้องให้แก้ไข สอบสวนหาผู้กระท�าความผิด ต่อมาปรากฏข้อเท็จจริงว่า
              ปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่และอ�านาจตามมาตรา ๒๖ (๔)   มีการด�าเนินคดีกับเจ้าหน้าที่ทหารหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
              จนมีการตรา พ.ร.ป. ดังกล่าว ซึ่งมาตรา ๔๔ บัญญัติให้   ที่เกี่ยวข้องกับการสังหารและการท�าให้พลเรือนบาดเจ็บ
              กสม.ต้องตรวจสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับรายงานสถานการณ์ ในช่วงการประท้วงทางการเมืองเมื่อปี ๒๕๕๓ รวมทั้ง
              นั้นก่อนการชี้แจงหรือจัดท�ารายงานข้อเท็จจริง  มีการด�าเนินคดีกับแกนน�ากลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงทาง
              ที่ถูกต้องของสถานการณ์ดังกล่าว ดังนั้น กสม. ย่อมต้อง การเมืองเมื่อปี ๒๕๕๖ - ๒๕๕๗
              ชี้แจงหรือรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องซึ่งเป็นอยู่หรือเคย

              เกิดขึ้นในประเทศไทย มิได้เป็นการปกป้องหน่วยงานหรือ
              องค์กรใด



                                                                                                                 129
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136