Page 130 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 130

ทั้งปวง (General Comment No. 13) และมาตรฐานของ  ทางเพศต่อเด็กของผู้ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชนให้เป็นไป
            ยุทธศาสตร์ต้นแบบและมาตรการเชิงปฏิบัติของ  ตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียง
            สหประชาชาติในการขจัดความรุนแรงต่อเด็กในด้านการ และกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ อย่างเคร่งครัด รวมทั้ง
            ป้องกันอาชญากรรมและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา  ควรประสานความร่วมมือกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อ
            (United Nations Model Strategies and Practical  เศรษฐกิจและสังคมเพื่อก�าหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ
            Measures on the Elimination of Violence against  กระบวนการลบประวัติข้อมูลข่าวสารที่กระทบต่อ
            Children in the Field of Crime Prevention and  ความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียง และครอบครัว
            Criminal Justice - UNVAC) ซึ่งสามารถด�าเนินการได้ ตามหลักสิทธิที่จะถูกลืม (Right to be forgotten)

            ในรูปแบบ “ผู้จัดการระบบดูแลเด็กในคดีความรุนแรง
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
            ทางเพศ (Care Manager)” ทั้งนี้ เพื่อให้การด�าเนินงาน   (๗) องค์กรวิชาชีพสื่อมวลชน ได้แก่ สภาการหนังสือพิมพ์
            ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีกระบวนการและขั้นตอน  แห่งชาติ สภาวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย สมาคม
            ที่ชัดเจน ไม่เกิดความซ�้าซ้อน รวมทั้งมีการบูรณาการและ นักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย สมาคมนักข่าว
            การเชื่อมโยงข้อมูลอย่างเป็นระบบ                  วิทยุและโทรทัศน์ไทย และสมาคมผู้ผลิตข่าวออนไลน์
                                                             ควรก�ากับดูแลกันเองและส่งเสริมให้ผู้ประกอบวิชาชีพ
                (๔) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง  สื่อมวลชนปฏิบัติงานภายใต้มาตรฐานทางจริยธรรมและ
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
            ของมนุษย์ ควรพิจารณาจัดท�า “คู่มือหรือแนวทาง  แนวปฏิบัติ ซึ่งองค์กรวิชาชีพสื่อมวลชนร่วมกันก�าหนด
            การปฏิบัติงาน” เกี่ยวกับกระบวนการแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ขึ้น โดยให้พึงระมัดระวังและเพิ่มความตระหนักในเรื่อง

            สภาพจิตใจ วิธีการฟื้นฟูเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมทั้ง  ผลกระทบต่อเด็กและค�านึงถึงสิทธิมนุษยชน ศักดิ์ศรี
            กิจกรรมที่มุ่งเสริมสร้างพลังอ�านาจ (Empowerment)   ความเป็นมนุษย์ ความเป็นส่วนตัว และการคุ้มครอง
            แก่เด็กที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงทางเพศ โดยอาจ สิทธิส่วนบุคคลของผู้ที่เกี่ยวข้อง
            ถอดบทเรียนหรือถ่ายทอดองค์ความรู้จากองค์กรเอกชน
            ด้านสิทธิมนุษยชนที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการคุ้มครอง  ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย กฎ
            สวัสดิภาพเด็ก ซึ่งได้เข้ามามีส่วนร่วมและด�าเนินการ  ระเบียบ หรือค�าสั่ง

            ช่วยเหลือในบางกรณี เช่น เหตุการณ์ความรุนแรงทางเพศ   คณะรัฐมนตรี ควรมอบหมายให้กระทรวงการพัฒนา
            ที่เกิดขึ้นกับเด็กนักเรียนหญิง ๓ คน ในจังหวัดมุกดาหาร   สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย
            เมื่อช่วงเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๓ ฯลฯ พร้อมกันนี้   กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงยุติธรรม ร่วมกัน
            ควรพิจารณาจัดสรรงบประมาณและบุคลากรเพื่อ พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก
            สนับสนุนการด�าเนินงานดังกล่าวด้วย                พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยการก�าหนดให้มี “คณะกรรมการคุ้มครอง
                                                             เด็กท้องถิ่น” ในระดับอ�าเภอ รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้แทน
                (๕) กระทรวงยุติธรรม โดยกรมคุ้มครองสิทธิและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานศึกษา ชุมชน และ
            เสรีภาพ ควรพิจารณาศึกษาและแก้ไขปรับปรุงแนวทาง องค์กรเอกชนในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมในคณะกรรมการ
            การพิจารณาจ่ายค่าตอบแทนแก่เด็กที่เป็นผู้เสียหาย  ดังกล่าวด้วย ทั้งนี้ เพื่อเสริมสร้างกลไกการด�าเนินงาน
            ในคดีความผิดเกี่ยวกับเพศ โดยควรก�าหนดแนวทาง ที่มีความใกล้ชิดและครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายในแต่ละ

            การใช้ดุลพินิจส�าหรับกรณีที่ต้องพิจารณาว่าผู้เสียหาย ท้องถิ่น อันจะท�าให้การคุ้มครองป้องกันและแก้ไขปัญหา
            มีพฤติกรรมยินยอมหรือไม่นั้น ให้ค�านึงถึงวุฒิภาวะและ เกี่ยวกับเด็กเป็นไปโดยรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และ
            อ�านาจการตัดสินใจของเด็ก ตลอดจนความสัมพันธ์  สอดคล้องกับบริบทของแต่ละท้องถิ่น
            เชิงอ�านาจระหว่างผู้กระท�าความผิดกับเด็กด้วย
                                                                ผลส�าเร็จ/ความก้าวหน้าในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
                (๖) คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ          ส�านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี แจ้งว่า รองนายก
            โทรทัศน์  และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ  ควรมี  รัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) สั่งและปฏิบัติราชการแทน

            การตรวจสอบการน�าเสนอข่าวเกี่ยวกับความรุนแรง  นายกรัฐมนตรีได้มีค�าสั่งมอบหมายให้กระทรวงการพัฒนา



       128
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135