Page 129 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 129
ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริม เกี่ยวกับแผนและแนวปฏิบัติดังกล่าวแก่เด็กและ
และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน บุคคลที่เกี่ยวข้องด้วย 1
(๑) คณะรัฐมนตรี ควรพิจารณาด�าเนินการ ดังต่อไปนี้ ๒.๒ ในการพิจารณาออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
๑.๑ ก�าหนดแนวนโยบายด้านการขจัดความรุนแรง หรือการต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ 2
ทางเพศต่อเด็กในภาพรวมและก�าชับการด�าเนินงาน ตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยใบอนุญาตประกอบ
ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้มีความสอดประสาน วิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๙ นั้น กระทรวงศึกษาธิการ 3
และเชื่อมโยงกันในด้านนโยบาย รวมทั้งควร โดยคุรุสภา ควรมีการกลั่นกรองและตรวจสอบ
พิจารณามอบหมายให้กระทรวงการพัฒนาสังคม การประพฤติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ
และความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับหน่วยงาน ของครูหรือบุคลากรทางการศึกษาอย่างเคร่งครัด 4
ที่เกี่ยวข้อง ด�าเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศ รวมทั้งควรมีการประเมินด้านสุขภาพจิตและ
เพื่อจัดเก็บข้อมูลด้านการส่งเสริมและคุ้มครอง อารมณ์เพื่อประกอบการพิจารณาด้วย พร้อมกันนี้ 5
เด็ก การติดตาม การประเมินผล ตลอดจน ควรก�าหนดหลักเกณฑ์ให้มีการพัฒนาเพื่อ
การจัดการองค์ความรู้และการพัฒนาศักยภาพ เพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจในเรื่อง “สิทธิเด็ก”
ของบุคลากร และ “บทบาทการคุ้มครองและช่วยเหลือเด็ก
๑.๒ สนับสนุนงบประมาณด้านบุคลากรใน นักเรียน” ซึ่งจะเป็นการป้องกันยับยั้งมิให้เกิด
กระบวนการยุติธรรมส�าหรับเด็กแก่ส�านักงาน การกระท�าความรุนแรงทางเพศหรือความ
ต�ารวจแห่งชาติและกระทรวงการพัฒนาสังคม รุนแรงรูปแบบอื่นต่อเด็กและเป็นการเสริมสร้าง
และความมั่นคงของมนุษย์ให้มีจ�านวนที่เพียงพอ การปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
และเหมาะสมกับภาระงาน โดยเฉพาะการเพิ่ม ๒.๓ ควรพัฒนาช่องทางในการร้องเรียนหรือการแจ้ง
จ�านวนพนักงานสอบสวนหญิงหรือพนักงาน เบาะแสของศูนย์คุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียน
สอบสวนที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเด็ก นักศึกษาซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศ กระทรวง
นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ หรือบุคลากร ศึกษาธิการ (ศคพ.) เพื่อให้เด็กหรือผู้พบเห็น
สหวิชาชีพอื่น ๆ พร้อมทั้งมุ่งเน้นให้มีการพัฒนา สามารถเข้าถึงได้โดยง่าย สะดวกรวดเร็ว ค�านึงถึง
ศักยภาพบุคลากรดังกล่าวอย่างต่อเนื่องเพื่อ ความปลอดภัยและการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็น โดยอาจใช้รูปแบบเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน
ความละเอียดอ่อนทางเพศและสามารถ เป็นการเฉพาะ รวมทั้งควรพัฒนาเป็นช่องทาง
คุ้มครองสวัสดิภาพของเด็กผู้เสียหายได้อย่างมี ให้เด็กสามารถขอรับค�าปรึกษาเกี่ยวกับประเด็น ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ประสิทธิภาพ ความรุนแรงทางเพศได้ด้วย และควรมีการ
ประชาสัมพันธ์และสร้างความรับรู้เกี่ยวกับ
(๒) กระทรวงศึกษาธิการ ควรพิจารณาด�าเนินการ ช่องทางดังกล่าว
ดังต่อไปนี้
๒.๑ ก�าหนดให้สถานศึกษาแต่ละแห่งก�าหนดมาตรการ (๓) คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติซึ่งมีอ�านาจ
ป้องกันเชิงรุกด้วยการจัดท�า “แผนจัดการความ และหน้าที่ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
เสี่ยงด้านความรุนแรงทางเพศต่อเด็ก” และ มาตรา ๑๔ ควรพิจารณาจัดท�า “คู่มือหรือแนวทาง
“แนวปฏิบัติส�าหรับเด็กในการป้องกันตนเอง การปฏิบัติงาน” ที่เป็นมาตรฐานเฉพาะเกี่ยวกับการ
จากความรุนแรงทางเพศ” โดยให้ประสาน ประสานความร่วมมือด้านกระบวนการยุติธรรมและ
ความร่วมมือและวางแผนร่วมกับเด็กนักเรียน การคุ้มครองเยียวยาเด็กในคดีความรุนแรงทางเพศ
ตัวแทนผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานของรัฐ โดยอาจพิจารณาตามข้อเสนอแนะทั่วไปของคณะกรรมการ
ในพื้นที่แต่ละแห่ง พร้อมกันนี้ ควรมีกระบวนการ สิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติ ฉบับที่ ๑๓ ว่าด้วยสิทธิของเด็ก
ประชาสัมพันธ์และสร้างความรู้ความเข้าใจ ที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้ความรุนแรงในรูปแบบ
127