Page 128 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 128
(๑) ประเด็นด้านนโยบายและกฎหมาย เห็นว่า ด้วยวิธีการที่เหมาะสมโดยเร็ว ทั้งในการตรวจรักษา
แม้ประเทศไทยมีการก�าหนดนโยบายและบัญญัติกฎหมาย ทางร่างกาย การฟื้นฟูสภาพจิตใจ และการจัดให้มี
ไว้อย่างชัดเจนว่าการกระท�าความรุนแรงทางเพศต่อเด็ก กิจกรรมเพื่อฟื้นฟูหรือพัฒนาตนเอง แม้ว่าจะมีการด�าเนิน
เป็นการกระท�าที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย รวมทั้งได้ก�าหนด งานตามกระบวนการและขั้นตอนของกฎหมายอย่าง
โครงสร้างและกลไกที่เกี่ยวข้องกับระบบการคุ้มครองเด็ก เคร่งครัด แต่ก็มีประเด็นปัญหาที่ท�าให้การคุ้มครองเด็ก
ครอบคลุมทั้งในเรื่องการบังคับใช้กฎหมาย การคุ้มครอง ไม่อาจด�าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ป้องกันมิให้เด็กถูกใช้ความรุนแรงทางเพศ ขั้นตอนและ
การด�าเนินการด้านกระบวนการยุติธรรม รวมตลอดทั้ง (๕) ประเด็นด้านสื่อมวลชน โดยเห็นว่า แม้ปัจจุบัน
การบ�าบัด ฟื้นฟูและเยียวยาเด็กที่ถูกกระท�าการดังกล่าว หลักการคุ้มครองสิทธิเด็กที่ถูกกระท�าด้วยความรุนแรง
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
แต่ก็ยังคงมีข้อบกพร่องบางประการซึ่งควรด�าเนินการ ทางเพศจากการน�าเสนอข่าวของสื่อมวลชนจะปรากฏ
แก้ไขปรับปรุง เช่น ขาดกลไกที่ตอบสนองต่อการแก้ไข ชัดเจนทั้งในด้านกฎหมายตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง
และป้องกันปัญหาในระดับท้องถิ่นหรือชุมชน เด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ และพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ
กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ รวมทั้ง
(๒) ประเด็นด้านมาตรการป้องกันความรุนแรง มาตรฐานหรือแนวปฏิบัติซึ่งองค์กรวิชาชีพสื่อมวลชน
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
ทางเพศ เห็นว่า การป้องกันมิให้ครูหรือบุคลากรทาง ร่วมกันก�าหนดขึ้น แต่ก็ยังคงปรากฏว่ามีการน�าเสนอข่าว
การศึกษาใช้ความรุนแรงทางเพศต่อเด็ก เป็นกระบวนการ ที่มีเนื้อหา ความคิดเห็น ภาพ และวิธีการที่ไม่เหมาะสม
ส�าคัญในการยับยั้งมิให้เกิดปัญหาในลักษณะเดิมขึ้นอีก และมีลักษณะของการกระท�าอันเป็นการละเมิดซ�้า
นอกจากนี้ สถาบันครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน และ นอกจากนี้ กรณีการลบประวัติข้อมูลข่าวสารที่กระทบต่อ
หน่วยงานของรัฐในระดับท้องถิ่น เป็นกลไกที่มีส่วนส�าคัญ ความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียง และครอบครัว
ในการป้องกันมิให้เกิดการกระท�าความรุนแรงทางเพศ ของเด็ก ตามหลักสิทธิที่จะถูกลืม (Right to be
ต่อเด็ก แต่การด�าเนินการของกลไกดังกล่าวยังคงมี forgotten) ก็ยังไม่มีหน่วยงานหรือระบบการด�าเนินการ
ข้อบกพร่องและขาดกระบวนการที่ส�าคัญ อย่างเป็นทางการที่จะประกันการคุ้มครองสิทธิดังกล่าว
(๓) ประเด็นด้านกระบวนการยุติธรรม เห็นว่า กสม. จึงมีมติให้เสนอแนะมาตรการหรือแนวทาง
แม้ประเทศไทยจะมีความก้าวหน้าในการพัฒนา ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และมี
กระบวนการยุติธรรมเพื่อประกันและรับรองสิทธิเด็ก ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ
จากการถูกกระท�าความรุนแรงทางเพศ โดยมีการ หรือค�าสั่งใด ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน
บัญญัติกระบวนการและขั้นตอนไว้ตามกฎหมายภายใน ไปยังคณะรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการ
โดยเฉพาะ คือ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา คุ้มครองเด็กแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
และพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ แต่ยังพบ ความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงยุติธรรม คณะกรรมการ
ปัญหาและข้อจ�ากัดในการด�าเนินการ เช่น ขาดการพัฒนา กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ
ช่องทางที่เด็กสามารถเข้าถึงศูนย์คุ้มครองและช่วยเหลือ โทรคมนาคมแห่งชาติ สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ
นักเรียนนักศึกษาซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศ กระทรวง สภาวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย สมาคมนักข่าว
ศึกษาธิการ (ศคพ.) ได้โดยสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย สมาคมนักข่าววิทยุ
และโทรทัศน์ไทย และสมาคมผู้ผลิตข่าวออนไลน์
(๔) ประเด็นด้านการคุ้มครองและเยียวยาเด็กนักเรียน ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
ผู้เสียหาย เห็นว่า เมื่อเกิดกรณีกระท�าความรุนแรง ๒๕๖๐ มาตรา ๒๔๗ (๓) และ พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐
ทางเพศต่อเด็กไม่ว่าบุคคลใดเป็นผู้กระท�า จะต้องมี มาตรา ๒๖ (๓) และมาตรา ๔๒ เพื่อด�าเนินการ ดังนี้
การด�าเนินการเพื่อให้เด็กได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพ
126