Page 126 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 126
ข่าวสารสาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดินและ ความเสียหายที่จะเกิดแก่เด็กและเยาวชน อันเนื่องจาก
การบังคับใช้กฎหมาย ที่ สค. ๓๒/๒๕๔๘ เรื่อง อุทธรณ์ ตราบาป และไม่ให้เผยแพร่ข่าวสารที่อาจท�าให้สามารถ
ค�าสั่งไม่ลบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับประวัติอาชญากร รู้ตัวผู้กระท�าความผิดที่เป็นเด็กและเยาวชนและจะต้อง
ได้พิจารณาว่า การกระท�าความผิดในขณะที่เป็นเด็ก ไม่ขัดต่อหลักการคืนเด็กสู่สังคมตามอนุสัญญาว่าด้วย
และเยาวชน และศาลมีค�าพิพากษาให้เปลี่ยนโทษ สิทธิเด็ก ข้อ ๓๙ อีกทั้ง พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก
เป็นการฝึกอบรม ณ สถานพินิจและคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๒๒ บัญญัติว่า “การปฏิบัติต่อเด็ก
และเยาวชน เมื่อผ่านการฝึกอบรมแล้ว สถานพินิจและ ไม่ว่ากรณีใดให้ค�านึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็น
คุ้มครองเด็กและเยาวชนออกใบบริสุทธิ์ให้เด็กและ ส�าคัญ....” ในการเปิดเผยประวัติเด็กหรือเยาวชนไม่ว่า
เยาวชนจึงมิได้มีฐานะเป็นอาชญากรแต่อย่างใด การที่ โดยทางใดทางหนึ่งย่อมไม่เป็นประโยชน์ต่อเด็ก และ
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติจัดเก็บข้อมูลผู้อุทธรณ์ในฐานะ ส�าหรับการเปิดเผยโดยอ้างเหตุความจ�าเป็นอย่างยิ่งและ
เป็นอาชญากรในทะเบียนประวัติอาชญากรตามระเบียบ เจ้าของประวัติยินยอมนั้น ก็ยังไม่มีขอบเขตชัดเจนว่า
ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติและยังน�าข้อมูลดังกล่าวมา เหตุจ�าเป็นอย่างยิ่งได้แก่กรณีใดบ้าง อันเป็นการให้อ�านาจ
เปิดเผยในทางที่เป็นโทษแก่เด็กและเยาวชนจึงเป็นการ ในการใช้ดุลพินิจที่กว้างเกินไป อันอาจเกิดการละเมิดสิทธิ
เก็บข้อมูลและเปิดเผยที่ไม่ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ ของเด็กและเยาวชนซึ่งขัดต่ออนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
ของพระราชบัญญัติจัดการฝึกและอบรมเด็กบางจ�าพวก กฎอันเป็นมาตรฐานขั้นต�่าของสหประชาชาติว่าด้วย
พุทธศักราช ๒๔๗๙ การบริหารงานยุติธรรมเกี่ยวกับคดีเด็กและเยาวชน
พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธี
ดังนั้น เมื่อพิจารณาระเบียบส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ พิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ ทั้งนี้
ว่าด้วยประมวลระเบียบการต�ารวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะ ระเบียบส�านักงานต�ารวจแห่งชาติว่าด้วย ประมวลระเบียบ
ที่ ๓๒ การพิมพ์ลายนิ้วมือ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗ การต�ารวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๓๒ การพิมพ์
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ลายนิ้วมือ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗ ไม่ได้บัญญัติ
และพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและ ให้ชัดเจนว่ากรณีการตรวจสอบรายการประวัติหรือบัญชี
วิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ ประกอบ ของบุคคลใดตามข้อ ๔.๓ ว่าเป็นเด็กหรือเยาวชนหรือ
กับค�าวินิจฉัยของคณะกรรมการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร บุคคลทั่วไป ดังนั้น จึงควรให้ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ
สาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดินและการบังคับใช้ แก้ไขเพิ่มเติมระเบียบส�านักงานต�ารวจแห่งชาติฉบับ
กฎหมาย ที่ สค. ๓๒/๒๕๔๘ เรื่อง อุทธรณ์ค�าสั่งไม่ลบ ดังกล่าว โดยก�าหนดให้มีการคัดแยกประวัติการกระท�าผิด
ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับประวัติอาชญากรแล้ว จะเห็นได้ว่า ของเด็กและเยาวชนและบัญชีทะเบียนประวัติของเด็กและ
หากเป็นการเปิดเผยเพื่อเป็นประโยชน์ในการศึกษาวิจัย เยาวชนไว้ในหมวดใดหมวดหนึ่งโดยเฉพาะ แยกจากกรณี
จะต้องไม่มีการระบุชื่อหรือท�าให้รู้ว่าประวัติการกระท�า การกระท�าความผิดของบุคคลทั่วไป เพื่อให้สอดคล้อง
ผิดนั้นเป็นของเด็กหรือเยาวชนคนใด และการเปิดเผย กับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก กฎอันเป็นมาตรฐานขั้นต�่า
ประวัติการกระท�าผิดของเด็กและเยาวชนคนใดคนหนึ่ง ของสหประชาชาติว่าด้วยการบริหารงานยุติธรรมเกี่ยวกับ
โดยเฉพาะเจาะจงย่อมไม่สามารถท�าได้ เนื่องจาก คดีเด็กและเยาวชน ที่ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน
พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธี รวมถึงพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและ
พิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัวฯ ได้บัญญัติไว้เป็น วิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓
บทบัญญัติเด็ดขาดห้ามมิให้เปิดเผยประวัติเด็กหรือ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
เยาวชนที่เป็นผลร้ายต่อเด็กหรือเยาวชน นอกจากนี้ และพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยค�านึง
องค์การสหประชาชาติยังได้ก�าหนดกฎอันเป็นมาตรฐาน ถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กและเยาวชนเป็นส�าคัญ รวมทั้ง
ขั้นต�่าของสหประชาชาติว่าด้วยการบริหารงานยุติธรรม เห็นควรมีข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการ
เกี่ยวกับคดีเด็กและเยาวชน (กฎแห่งกรุงปักกิ่ง) ข้อ ๘ ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน รวมถึงข้อเสนอ
ข้อย่อย ๘.๑ และ ๘.๒ ซึ่งวางหลักการให้มีการเคารพ ในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือค�าสั่ง
ต่อสิทธิส่วนตัวของเด็กและเยาวชน เพื่อหลีกเลี่ยง ให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน ต่อส�านักงานต�ารวจ
124