Page 125 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 125

ระหว่างกัน รวมทั้งจะไม่ถูกกระท�าโดยมิชอบต่อเกียรติ มาตรา ๘๔ ที่มุ่งคุ้มครองสิทธิของเด็กและเยาวชน
              และชื่อเสียง” โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปิดเผยประวัติของ โดยป้องกันมิให้มีการเปิดเผยประวัติการกระท�าผิดของเด็ก   1
              เด็กจะต้องไม่ขัดต่อหลักการคืนเด็กสู่สังคมตามอนุสัญญา และเยาวชนที่อาจส่งผลต่อการใช้ชีวิตอย่างปกติสุข
              ว่าด้วยสิทธิเด็ก ข้อ ๓๙ ซึ่งบัญญัติว่า “... การฟื้นฟูหรือ คุ้มครองเด็กและเยาวชนที่ถูกกล่าวหาว่ากระท�าความผิด   2
              การกลับคืนสู่สังคมดังกล่าว จะเกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมที่  อาญาหรือถูกศาลพิพากษาว่ามีความผิดให้ได้รับการ
              ส่งเสริมสุขภาพ การเคารพตนเอง และศักดิ์ศรีของเด็ก”   ปฏิบัติที่แตกต่างไปจากผู้ต้องหาหรือจ�าเลยที่เป็นผู้ใหญ่   3
              จึงเห็นสมควรให้มีการพิจารณาจัดท�าข้อเสนอแนะมาตรการ  โดยให้ได้รับผลกระทบจากการต้องถูกด�าเนินคดีและ

              หรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน  ควบคุมตัวน้อยที่สุด ส�าหรับเด็กและเยาวชนที่มีปัญหา
              รวมทั้งข้อเสนอในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ ความประพฤติหรือกระท�าความผิดทางอาญา คุ้มครอง       4
              หรือค�าสั่งใด ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน   ให้ได้รับโอกาสแก้ไขให้สามารถเติบโตเป็นพลเมืองดี
                                                               ของสังคม โดยมีสมมติฐานว่าเด็กและเยาวชนกระท�าการ     5
                 การด�าเนินการ                                 ใด ๆ เพราะขาดวุฒิภาวะ การรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ตลอดทั้ง
                 กสม. ได้พิจารณาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ข้อกฎหมาย  สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลในการผลักดันความประพฤติของเด็ก
              หลักการสิทธิมนุษยชน ความเห็นจากหน่วยงานภาค
              รัฐ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสิทธิเด็ก และความเห็นของคณะ    ทั้งนี้ เนื่องจากระเบียบส�านักงานต�ารวจแห่งชาติว่าด้วย
              อนุกรรมการด้านสิทธิเด็กและการศึกษาแล้วมีความเห็น ประมวลระเบียบการต�ารวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๓๒

              มีสาระส�าคัญและปัญหาความพิจารณา ดังนี้           การพิมพ์ลายนิ้วมือ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗ ข้อ ๔.๓ นั้น
                                                               เป็นบทบัญญัติท่ี่ก�าหนดไว้เพียงลักษณะทั่วไปโดย
                 ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติได้บังคับใช้ระเบียบ ไม่เจาะจงแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง และไม่มีบทเฉพาะ
              ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติว่าด้วยประมวลระเบียบการ ส�าหรับเด็กหรือเยาวชนและเป็นบทบัญญัติที่ให้ดุลพินิจ
              ต�ารวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๓๒ การพิมพ์ลายนิ้วมือ   แก่ผู้บัญชาการต�ารวจแห่งชาติในการอนุญาตให้
              (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗ ข้อ ๔ ซึ่งก�าหนดว่า “เพื่อประโยชน์  ตรวจสอบประวัติการกระท�าผิดของบุคคลทุกคนได้
              ในทางราชการให้กองทะเบียนประวัติอาชญากรน�าข้อมูล  โดยไม่มีหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่ชัดเจนว่ากรณีใด

              ที่ได้คัดแยกออกจากสารบบ หรือฐานข้อมูลประวัติ สามารถเปิดเผยได้ และกรณีใดที่ไม่สามารถเปิดเผยได้
              อาชญากรไปแล้วตาม ๒.๒ มาตรวจสอบรายการประวัติ มีเพียงตัวอย่างบางกรณี เช่น เพื่อการศึกษา ค้นคว้า
              หรือบัญชีของบุคคลได้ในกรณีดังต่อไปนี้ ๔.๓ กรณีอื่น ๆ  วิจัยทางวิชาการ ทางการแพทย์ เป็นต้น รวมถึงกรณีที่มี
              ตามที่ผู้บัญชาต�ารวจแห่งชาติอนุญาตให้ตรวจสอบได้ เช่น   ผู้ร้องขอให้ตรวจสอบโดยมีเหตุผลความจ�าเป็นอย่างยิ่ง ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
              เพื่อประโยชน์ในการศึกษา ค้นคว้า วิจัยทางวิชาการ   และเจ้าตัวยินยอม ซึ่งหมายความว่า ผู้บัญชาการต�ารวจ
              ทางอาชญาวิทยา ทางการแพทย์ เป็นต้น รวมถึงกรณีที่มี  แห่งชาติสามารถอนุญาตให้ตรวจสอบประวัติการกระท�า
              ผู้ร้องขอให้ตรวจสอบโดยมีเหตุผลความจ�าเป็นอย่างยิ่ง  ผิดของเด็กและเยาวชนโดยอาศัยอ�านาจตามระเบียบ
              และเจ้าตัวยินยอม” กรณีตามค�าร้องมีปัญหาที่ต้อง ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติว่าด้วยประมวลระเบียบการ
              พิจารณาว่า ประมวลระเบียบการต�ารวจไม่เกี่ยวกับคดี  ต�ารวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๓๒ การพิมพ์ลายนิ้วมือ
              ลักษณะที่ ๓๒ การพิมพ์ลายนิ้วมือ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗  (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗ แต่หากพิจารณาตามพระราช

              สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนหรือไม่               บัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา
                                                               ๒๔ จะเห็นว่า หน่วยงานต่าง ๆ จะเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
                 พิจารณาแล้วเห็นว่า ระเบียบส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ  ส่วนบุคคลโดยปราศจากความยินยอมมิได้  เว้นแต่
              ว่าด้วยประมวลระเบียบการต�ารวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะ ในกรณีหน่วยงานของรัฐที่ท�างานวางแผนหรือการสถิติ
              ที่ ๓๒ การพิมพ์ลายนิ้วมือ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗ ข้อ  หรือส�ามะโนต่าง ๆ หรือเป็นการให้ข้อมูลเพื่อประโยชน์
              ๔.๓ เป็นบทบัญญัติที่อาจเป็นการละเมิดสิทธิเด็ก และ  ในการศึกษาวิจัยโดยไม่ระบุชื่อหรือส่วนที่ท�าให้รู้ว่า
              ไม่เป็นตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว  เป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับบุคคลใด ฯลฯ

              และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓   ประกอบกับค�าวินิจฉัยคณะกรรมการเปิดเผยข้อมูล



                                                                                                                 123
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130