Page 124 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 124

ส�านักงานทรัพยากรน�้าแห่งชาติ (สทนช.) ผู้ประสานงาน  การเปลี่ยนแปลง การก่อสร้างเพื่อบริหารจัดการน�้า และ
            หลักฝ่ายไทย ในฐานะคณะกรรมการแม่น�้าโขงแห่งชาติ แผนระยะยาว เช่น การจัดตั้งกองทุนและการเยียวยา
            ไทยได้จัดท�า (ร่าง) บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือ  การสร้างข้อตกลง มาตรการการใช้งาน และการอนุรักษ์
            ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน�้าแบบบูรณาการ แม่น�้าโขง
            ระหว่างราชอาณาจักรไทย และ สปป.ลาว เพื่อแลกเปลี่ยน
            แบ่งปันข้อมูลด้านอุตุ - อุทกวิทยา รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวกับ  กรณีที่ ๔ ข้อเสนอแนะ ที่ ๔/๒๕๖๐ เรื่อง ข้อเสนอ
            การบริหารจัดการอาคารประกอบหรือเขื่อนตอนบน  แนะมาตรการหรือแนวทางในการปรับปรุงกฎหมาย
            ในลุ่มน�้าโขง ที่มีผลกระทบต่อการบริหารจัดการน�้าตอน และระเบียบ อันเกี่ยวเนื่องกับสิทธิเด็กในกระบวนการ

            ล่าง และส่งผลถึงประชาชนที่อยู่อาศัยริมฝั่งแม่น�้าโขง  ยุติธรรมทางอาญา กรณีการเปิดเผยประวัติการกระท�า
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
            เสนอต่อคณะกรรมการแม่น�้าโขงแห่งชาติไทย ในคราว ความผิดทางอาญาของเด็กและเยาวชน
            ประชุมเมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๓ ซึ่งได้มีมติเห็นชอบ  ความเป็นมา
            ในหลักการ และมอบหมายให้ สทนช. เป็นหน่วยงาน          กสม. ในคราวประชุมด้านการคุ้มครองและมาตรฐาน
            หลักในการท�าบันทึกความเข้าใจดังกล่าว และหารือ  การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ครั้งที่ ๓๗/๒๕๕๙ เมื่อวันที่
            หน่วยงานด้านความมั่นคงและกระทรวงการต่างประเทศ  ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ได้พิจารณากรณีมีการอนุญาต
            ซึ่งกระทรวงการต่างประเทศมีข้อเสนอแนะให้จัดท�าบันทึก ให้เปิดเผยประวัติการกระท�าความผิดทางอาญาของ
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
            ข้อตกลงในรูปแบบ ๒+๒ (two plus two) โดยเห็นควร เด็กและเยาวชนหลายกรณี ทั้งที่เด็กและเยาวชนที่เข้าสู่
            น�าประเด็นด้านพลังงานและทรัพยากรน�้ารวมอยู่ภายใต้ กระบวนการยุติธรรมทางอาญานั้น ได้รับการปกป้อง

            บันทึกข้อตกลงเดียวกัน และควรยกระดับให้เป็นเรื่อง คุ้มครองตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก  กฎอันเป็น
            ระดับชาติ ปัจจุบันกรณีดังกล่าวอยู่ระหว่างการหารือ มาตรฐานขั้นต�่าของสหประชาชาติว่าด้วยการบริหารงาน
            เพื่อขอความเห็นจาก สปป.ลาว เพื่อด�าเนินการในส่วน  ยุติธรรมเกี่ยวกับคดีเด็กและเยาวชน หรือกฎแห่งกรุงปักกิ่ง
            ที่เกี่ยวข้องต่อไป                               (United Nations Standard Minimum Rules for the
                                                             Administration of Juvenile) ที่ก�าหนดห้ามเปิดเผย
                คณะกรรมการแม่น�้าโขงแห่งชาติไทย ได้ร่วมวาง หรือน�าประวัติการกระท�าความผิดทางอาญาของเด็กหรือ
            กลยุทธ์การพัฒนาลุ่มน�้าโขง (Basin Development  เยาวชนไปพิจารณาให้เป็นผลร้ายหรือการเลือกปฏิบัติ

            Strategy :BDS) ใน ๕ ด้าน ได้แก่ สิ่งแวดล้อม สังคม   ที่ไม่เป็นธรรมไม่ว่าทางใด ๆ อีกทั้งตามพระราชบัญญัติ
            เศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และความ ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน
            ร่วมมือระหว่างประเทศ ซึ่งเชื่อมโยงกับเป้าหมายการ และครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๘๔ วรรคหนึ่ง
            พัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ ๖ และเป้าหมายที่ ๑๕  ได้บัญญัติคุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชนดังกล่าวไว้ว่า
            นอกจากนี้ สทนช. ยังได้ปรับแผนงบประมาณปี พ.ศ.  “เพื่อเป็นการคุ้มครองสิทธิเด็กหรือเยาวชน ห้ามมิให้เปิด
            ๒๕๖๓ สนับสนุนโครงการน�าร่องของแต่ละจังหวัด  เผยหรือน�าประวัติการกระท�าความผิดอาญาของเด็กหรือ
            เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายและสนับสนุน เยาวชนไปพิจารณาให้เป็นผลร้ายหรือเป็นการเลือกปฏิบัติ
            การปรับตัวของประชาชนริมแม่น�้าโขง เพื่อรับมือกับ  ที่ไม่เป็นธรรมไม่ว่าทางใด ๆ....” แต่ในทางปฏิบัติยังไม่มี
            ความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในลุ่มน�้าโขงอย่างยั่งยืน และ กระบวนการด�าเนินการให้หน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่

            ได้เสนอแผนต่าง ๆ เพื่ออนุรักษ์ระบบนิเวศและวิถีชีวิต รับผิดชอบในการเก็บประวัติการกระท�าความผิด
            ริมฝั่งแม่น�้าโขง ตลอดจนการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ทางอาญาของเด็กและเยาวชนมิให้เปิดเผย ส่งผลให้เด็ก
            ในแม่น�้าโขงอย่างยั่งยืน โดยแบ่งแผนออกเป็น ๓ ระยะ  และเยาวชนไม่ได้รับการคุ้มครองตามเจตนารมณ์
            ได้แก่ แผนระยะเร่งด่วน เช่น การจัดการสาธารณภัย   ของกฎหมายและไม่เป็นไปตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
            การอนุรักษ์วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว การท�าประมง   ข้อ ๓ ที่ให้ค�านึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กและเยาวชน
            การท�าเกษตรกรรมและเกษตรริมฝั่ง  การอนุรักษ์  เป็นส�าคัญ และข้อ ๑๖ วรรคหนึ่ง ที่ระบุว่า “เด็กจะไม่
            สิ่งแวดล้อม การสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายความร่วมมือ  ถูกแทรกแซงโดยพลการ หรือโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย

            แผนระยะกลาง เช่น การศึกษาและวิจัยผลกระทบของ  ในความเป็นส่วนตัว ครอบครัว บ้าน หรือการติดต่อสื่อสาร



       122
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129