Page 31 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 31
๒๙
á¹Ç·Ò§¡ÒÃÃѺÃͧÊÔ·¸ÔªØÁª¹ ·Õè´Ô¹ ·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔ áÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ
• เปนสิทธิเชิงกลุม เปนระบบจัดการรวมโดยใชชุมชนเปนฐาน
• รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กําหนดไว ๒ สวน ดังนี้
๑. เปนสิทธิ บุคคลและชุมชนมีสิทธิในการจัดการ บํารุงรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติฯ
อยางสมดุลและยั่งยืน และรวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือรัฐในการดําเนินการดังกลาว เปนสิทธิ
ที่เกิดขึ้นแลว ใชสิทธิไดทันที ใชสิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเปนขอตอสูคดีในศาลได (มาตรา ๔๓ (๒) + ๒๕)
๒. เปนหนาที่ของรัฐ
รัฐมีหนาที่ใหประชาชนและชุมชนมีสวนรวมในการอนุรักษ คุมครอง บํารุงรักษา ฟนฟู บริหารจัดการ
และใช หรือจัดใหมีการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติฯ ใหเกิดประโยชนอยางสมดุลและยั่งยืน โดยตองใหประชาชน
และชุมชนในทองถิ่นที่เกี่ยวของมีสวนรวมดําเนินการและไดรับประโยชนจากการดําเนินการดังกลาวดวย (มาตรา ๕๗ (๒))
รัฐตองดําเนินการใหมีการศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพ และจัดใหมี
การรับฟงความคิดเห็นของผูมีสวนไดเสียและประชาชนและชุมชนที่เกี่ยวของกอนการดําเนินการใดของรัฐหรือที่รัฐ
จะอนุญาตใหผูใดดําเนินการที่อาจมีผลกระทบอยางรุนแรง โดยชุมชนมีสิทธิในการไดรับขอมูล คําชี้แจง และเหตุผลจาก
หนวยงานของรัฐกอนการดําเนินการ และรัฐตองดําเนินการอยางระมัดระวัง หากเกิดผลกระทบขึ้น ตองมีการเยียวยา
อยางเปนธรรมและไมชักชา (มาตรา ๕๘)
หากหนาที่ของรัฐเปนการทําเพื่อใหเกิดประโยชนแกประชาชนโดยตรง ประชาชนและชุมชนมี “สิทธิ
ที่จะติดตามและเรงรัดใหรัฐดําเนินการ รวมทั้งฟองรองหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ” ได (มาตรา ๕๑)
¤ÇÒÁÊÓ¤ÑޢͧÊÔ·¸ÔªØÁª¹
ระบบการจัดการธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เปนระบบการจัดการโดยรัฐ ไดกอใหเกิดความขัดแยงระหวางรัฐ
กับชุมชนอยูเสมอ ไมวาจะเปนการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง การจัดการทรัพยากร ที่ดินและปาไม
การดําเนินโครงการพัฒนาตาง ๆ แมที่ผานมารัฐจะแกไขไปแลวหลายเรื่อง แตยังมีเนื้อหาบางสวนที่ไมเปนไปตาม
รัฐธรรมนูญ เพราะยังใชระบบจัดการโดยรัฐเปนสําคัญ และยังใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของประชาชนและ
ชุมชนคอนขางนอย