Page 27 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 27

๒๕



                การจัดการทรัพยากรทางทะเล มีการตราพระราช
             กําหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ กําหนดใหผูแทนสมาคม
             ในดานการประมงประเภทตาง ๆ มีสวนรวมในการเปน
             คณะกรรมการทั้งในระดับชาติ และระดับจังหวัด รวมถึง
             กําหนดใหกรมประมงสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน
             ประมงทองถิ่นในการจัดทํานโยบายการพัฒนาการประมง
             ในนานนํ้าไทย สนับสนุนใหมีการรวมกลุม เพื่อสงเสริม
             การมีสวนรวมและสนับสนุนชุมชนประมงทองถิ่นในการ
             จัดการการบํารุงรักษา การอนุรักษ การฟนฟู และการใช
             ประโยชนอยางยั่งยืนจากทรัพยากรสัตวนํ้าภายในที่จับ
             สัตวนํ้าในเขตประมงนํ้าจืดหรือเขตทะเลชายฝง



                อยางไรก็ดี ยังปรากฏขอขัดแยงการใชประโยชนพื้นที่สาธารณะทางทะเล เชน กรณีความขัดแยงระหวาง
             ชาวประมงพื้นบานกับผูประกอบการเลี้ยงหอยในพื้นที่ “อาวบานดอน” จังหวัดสุราษฎรธานี โดยประเด็นขอพิพาท
             การใชประโยชนจากพื้นที่สาธารณะทางทะเลดังกลาวเกิดขึ้นมานานแลว  และยังมีขอพิพาททํานองเดียวกันนี้เคยเกิดขึ้น
                                                         ๑๘
             ในหลายพื้นที่ เชน  “อาวปตตานี” เปนตน ซึ่งสะทอนใหเห็นวาประเด็นสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเล
             ยังเปนประเด็นที่จะตองพัฒนากฎหมายและนโยบาย รวมถึงการสรางความรูความเขาใจกันตอไป




                                                        การจัดการทรัพยากรแร กสม. รับเรื่องรองเรียน
                                                     เกี่ยวกับเหมืองแร และมีรายงานผลการตรวจสอบสําคัญ
                                                     หลายเรื่อง อาทิ กรณีคัดคานคําขอประทานบัตรเหมือง
                                                     แรหินอุตสาหกรรมชนิดหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง
                                                     ตําบลควนโพธิ์ อําเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล  และกรณี
                                                                                ๑๙
                                                     โครงการสํารวจแรโพแทช อําเภอวานรนิวาส จังหวัด
                                                     สกลนคร ๒๐




                  นอกจากนี้ กสม. ไดมีขอเสนอแนะตอการแกไขรางพระราชบัญญัติแร พ.ศ. ....  หลายประการ   ซึ่ง
                                                                                 ๒๑
               พระราชบัญญัติแร พ.ศ. ๒๕๖๐ ไดปรับแกสอดคลองกับขอเสนอแนะของ กสม. และเปดชองใหเกิดการมีสวนรวม
               ของประชาชน อาทิ การกําหนดใหคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแรแหงชาติมีหนาที่ในการสงเสริม
               การมีสวนรวมของชุมชนในการบริหารจัดการแร การเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการจัดทําแผนแมบท
               การบริหารจัดการแร การกําหนดใหในกรณีที่ประชาชนในชุมชนไมเห็นดวยกับการทําเหมือง และผูออกประทาน
               บัตรไมสามารถวินิจฉัยใหไดขอยุตินั้น ใหมีการทําประชามติของประชาชนในพื้นที่ที่ขอประทานบัตรโดยผูยื่น
               คําขอประทานบัตรตองรับผิดชอบคาใชจายก็ได เปนตน




                ๑๘  รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ที่ ๑๒๐/๒๕๖๑ ของ กสม.
                ๑๙  รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ที่ ๓๒๘/๒๕๖๑ ของ กสม.
                ๒๐  รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ที่ ๑๑-๑๒/๒๕๖๒ ของ กสม.
                ๒๑  รายงานผลการพิจารณาการละเมิดสิทธิมนุษยชน ที่ ๓๖-๓๙/๒๕๕๙ ของ กสม.
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32