Page 33 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 33

๓๑





                                   ÀÒ¾ÃÇÁ»ÃÐà´ç¹ÊÔ·¸Ôã¹·Õè´Ô¹   òò



                ปญหาเกี่ยวกับสิทธิในที่ดินปรากฏชัดเจนมากขึ้น
             หลังจากป ๒๕๕๑ โดยมีจํานวนเกษตรกรและคนยากจน
             ที่สูญเสียที่ดินเพิ่มขึ้น ควบคูกับภาระหนี้สินและการ
             ถูกเก็บคาเชาที่ดินไมเปนธรรม อีกทั้งกฎหมายและนโยบาย
             โดยเฉพาะในแงของการประกาศรับรองกรรมสิทธิ์ที่ดิน
             ทับซอนกันของรัฐ การขยายตัวของพื้นที่เกษตร (เนื่องจาก
             นโยบายดานเกษตรกรรมและการคา) การไมมีเสนแบง
             ที่ชัดเจนสําหรับที่ดินซึ่งคาบเกี่ยวระหวางรัฐ เอกชน และ
             ชุมชน และการที่ชุมชนไรความสามารถเขาถึงครอบครอง
             ที่ดินเนื่องจากราคาที่ดินซึ่งสูงมากขึ้น ลวนเปนอุปสรรค
             สําคัญ สงผลใหมีการบุกรุกเขาไปในที่ดินของรัฐและพื้นที่
             ปามากขึ้น



                  ทั้งนี้ นับตั้งแตรัฐบาลไดประกาศใชมาตรการใหมหลายประการ โดยใหอํานาจหนวยงานราชการในการ
               บริหารจัดการที่ดินและจํากัดสิทธิของชุมชนที่จะปกปองที่ดินของตนเอง ในขณะที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
               แหงชาติ (กสม.) ไดรับเรื่องรองเรียนจากประชาชนซึ่งไดรับผลกระทบจากการดําเนินงานของรัฐเพื่อปราบปราม
               การบุกรุกปา อันเปนผลมาจากประกาศคําสั่งของคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) และผูที่ถูกบังคับใหตอง
               ออกจากที่ดินของตนเองโดยไมไดรับการเยียวยาอยางเพียงพอจํานวนมาก





























                ๒๒  ประมวลและสังเคราะหจาก (1) การประเมินขอมูลพื้นฐานระดับชาติดานธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (National Baseline Assessment on Business and Human
             Rights) : นโยบาย กฎหมาย และมาตรการที่เกี่ยวของกับการลงทุนของประเทศ (๒๕๖๓) และ (๒) การติดตามสถานการณขอเสนอของกลุมชาติพันธุ และชนพื้นเมือง
             วันที่ ๑๓ - ๑๔ มีนาคม ๒๕๖๔
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38