Page 36 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 36
๓๔
¢ŒÍàʹÍá¹Ð
๑. การปฏิรูปกฎหมายที่ดินเพื่อประกันวา การปฏิรูปที่ดินจะดําเนินไปโดยเคารพอยางเต็มที่ตอสิทธิในที่ดินตาม
จารีตประเพณี/สิทธิของชุมชน รวมทั้งสิทธิของชนพื้นเมืองและชนชาติพันธุกลุมนอยเพื่อประกันวาบุคคลซึ่งไมมีหลักฐาน
และ/หรือเอกสารเปนลายลักษณอักษร จะไมถูกบังคับเวนคืนที่ดินโดยพลการ และใหดําเนินการออกโฉนดชุมชนตอไป
๒. การประเมินผลและปรับปรุงระเบียบโฉนดชุมชน เพื่อการยอมรับระบบการใชประโยชนในที่ดิน ตามจารีตประเพณี
และระบบการบริหารจัดการทรัพยากรของชนพื้นเมือง รวมทั้งสิทธิในที่ดิน อาณาบริเวณและทรัพยากร สอดคลอง
กับมติคณะรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๕๓ วาดวยการฟนฟูแนวปฏิบัติและการดํารงชีพตามจารีตประเพณีของชาวกะเหรี่ยง
และกลุมชาติพันธุชาวเล
๓. การกําหนดกระบวนการดําเนินงานที่เคารพตอสิทธิที่จะใหความยินยอมโดยสมัครใจ และไดรับขอมูลลวงหนาอยาง
เพียงพอ (Free, Prior and Informed Consent: FPIC) ของชนพื้นเมืองและสิทธิในที่ดินของชุมชนอื่น ๆ และ
อนุญาตใหพวกเขามีสวนรวมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการอนุรักษปา และการจัดการทรัพยากรที่ยั่งยืน
๔. การประกันวาบุคคลซึ่งอาศัยอยูในที่ดินที่ประกาศเปนเขตเศรษฐกิจพิเศษและพื้นที่อื่นที่จัดสรรเพื่อการพัฒนาจะไมถูก
บังคับใหตองออกจากที่ดินโดยพลการและไมสามารถประกอบอาชีพได และใหมีการจัดการปรึกษาหารือกับสาธารณะ
และการประเมินผลกระทบดานสังคมและสิ่งแวดลอมอยางเพียงพอ กอนจะเริ่มโครงการพัฒนาใด ๆ
๕. การประกันวาบุคคลซึ่งถูกขับไลออกจากที่ดินเนื่องจากการบุกรุกปาหรือเพื่อใหมีโครงการพัฒนาจะสามารถกลับสู
ที่ดินของตนเอง หรือไดรับการชดเชยอยางเพียงพอ และในอนาคตใหอนุญาตใหมีการเวนคืนที่ดินไดเฉพาะกรณี
ที่จําเปน มีสัดสวนเหมาะสม ตอบสนองตอประโยชนสาธารณะ และมีขั้นตอนการคุมครองสิทธิที่เขมแข็ง
๖. การประกันวามีการคุมครองผูพิทักษสิทธิมนุษยชนที่ชวยเหลือชุมชนในการปกปองสิทธิในที่ดินของตน และใหดําเนิน
การสอบสวนอยางนาเชื่อถือและเปนอิสระตอกรณีการเสียชีวิต และการบังคับบุคคลใหสูญหายกรณีผูทํางานปกปอง
สิทธิในที่ดิน