Page 35 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 35

๓๓





                       »˜ÞËÒ/¢ŒÍ·ŒÒ·Ò                    ʶҹ¡Òó/¢ŒÍà·ç¨¨ÃÔ§

               การสังหาร การบังคับบุคคลใหสูญหายและการตอบโต  ระหวางเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๕ ถึงเดือนกุมภาพันธ
               อยางอื่นกับผูทำงานปกปองสิทธิในที่ดิน ผูทำงาน  ๒๕๕๘ นักปกปองสิทธิในที่ดินอยางนอย ๔ คน
               ปกปองสิทธิในที่ดินยังคงตองเผชิญกับการคุกคาม  ถูกสังหาร และอีก ๑ คนกลายเปนผูสูญหายโดยมีอีก
               ขมขูผานกระบวนการศาล การทำลายทรัพยสินและ  หลายคนที่ถูกขมขูและคุกคาม ในจดหมายรวมของ
               พืชผล การขูใหโยกยายออกจากพื้นที่ รวมทั้งในกรณี  กลไกพิเศษแหงสหประชาชาติ ๘ หนวยงาน รวมทั้ง
               ที่รายแรงสูงสุดอาจถูกสังหารและตกเปนเหยื่อการ  ผูรายงานพิเศษวาดวยสถานการณของผูพิทักษ
               บังคับบุคคลใหสูญหาย                  สิทธิมนุษยชนสงมอบใหกับรัฐบาลไทยเมื่อวันที่
                                                     ๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ โดยรัฐบาลไทยใหขอมูลวา
                                                     อยูในระหวางการสอบสวนความผิดที่เกิดขึ้นในคดีตาง ๆ
                                                     เหลานี้เมื่อเมษายน ๒๕๕๘ และกรณีการบังคับบุคคล
                                                     ใหสูญหาย นายพอละจี รักจงเจริญ หรือ “บิลลี่”
                                                     นักกิจกรรมดานสิทธิของกลุมชาติพันธุ (กระเหรี่ยง)
                                                     ถูกจับกุมตัวและควบคุมตัวโดยหัวหนาอุทยานแหงชาติ
                                                     แกงกระจาน เพชรบุรี เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๕๗
                                                     จากนั้นไมมีผูพบเห็นเขาอีกเลย ในชวงที่เขา “หายตัวไป”
                                                     กำลังทำงานกับชาวบานกระเหรี่ยงและนักเคลื่อนไหว
                                                     คนอื่น ๆ เพื่อฟองรองดำเนินคดีกับเจาหนาที่ที่บุกเขาไป
                                                     เผาบานเรือนและทรัพยสินของชาวบานในเขตอุทยาน
                                                     ระหวางป ๒๕๕๓ และ ๒๕๕๔





               การดำเนินโครงการพัฒนาใด ๆ โดยไมมีขั้นตอน  แมจะมีขอบทในกฎหมาย แตการใชประโยชนจาก
               การปรึกษาหารือกับสาธารณะและการประเมินผล  ทรัพยากรธรรมชาติรวมทั้งโครงการพัฒนาขนาดใหญ
               กระทบลวงหนาอยางเพียงพอหรือไมมีขั้นตอนปฏิบัติ   ลวนไมมีกลไกสงเสริมการมีสวนรวมและการปรึกษา
               แมวาพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. ๒๕๕๑   หารือ ไมมีชองทางการเขาถึงขอมูลที่จำเปนสำหรับ
               กำหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับโครงการพัฒนาดานที่ดิน  บุคคลและชุมชนที่ไดรับผลกระทบจากโครงการ
               โดยมาตรา ๑๕.๓.๓ กำหนดใหตองปรึกษาหารือ  แมจะมีการจัดการ ปรึกษาหารือ แตในทางปฏิบัติ
               กับผูไดรับผลกระทบก็ตาม              แลวก็มักไมใหความสำคัญกับความเห็นของชุมชน
                                                     ในทองถิ่น นอกจากนั้น ยังมีการขัดขวางการเคลื่อนไหว
                                                     ของนักปกปองสิทธิมนุษยชนในชุมชน รวมทั้งขัดขวาง
                                                     การยื่นคำรองเรียนหรือการจัดกิจกรรม สาธารณะ
                                                     เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูล
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40