Page 26 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 26

๒๔



              เขตเศรษฐกิจพิเศษ มีการประกาศใชพระราชบัญญัติ
           เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อพัฒนา
           พื้นที่ภาคตะวันออกใหเปนระบบ โดยเฉพาะการสงเสริม
           การประกอบพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม อยางไรก็ดี
           มีประชาชนในพื้นที่บางกลุมและนักวิชาการที่คัดคาน
           การดําเนินการในเรื่องดังกลาว โดยเฉพาะเรื่องการ
           ประกาศใชผังเมืองในการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ
           ภาคตะวันออก (EEC Watch) ที่ยกเลิกผังเมืองเดิม ซึ่ง
           ผานกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน และเปลี่ยน
           พื้นที่เกษตรกรรม (สีเขียว) เปนพื้นที่อุตสาหกรรม (สีมวง)
           ซึ่งถือเปนการทําลายหลักประกันในการคุมครองสิทธิชุมชน
           ดานสิ่งแวดลอม และเอื้อประโยชนใหกับคนเพียงบางกลุม ๑๖






                                                      การจัดการทรัพยากรชายฝง มีการตราพระราช
                                                  บัญญัติสงเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเล
                                                  และชายฝง พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งกําหนดใหมีผูแทนชุมชน
                                                  ชายฝง มีสวนรวมในการเปนคณะกรรมการทั้งในระดับ
                                                  ชาติ และระดับจังหวัด และใหกรมทรัพยากรทางทะเล
                                                  และชายฝงใหความชวยเหลือหรือสนับสนุนการมีสวนรวม
                                                  ของชุมชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการแสดง
                                                  ความคิดเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาจัดทํานโยบาย
                                                  และแผนการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง
                                                  แหงชาติและจังหวัดดวย อยางไรก็ดี ปจจุบันยังพบ
                                                  ขอพิพาทเรื่องการจัดการชายฝง โดยเฉพาะประเด็น
                                                  มุมมองตอวิธีการจัดการปญหาการกัดเซาะชายฝงที่
                                                  แตกตางกันระหวางภาครัฐกับภาคประชาชน





                ขอพิพาทดังกลาวสะทอนผานกรณีโครงการกอสรางเขื่อนปองกันตลิ่งริมทะเล พรอมปรับปรุงภูมิทัศน
             ตําบลมวงงาม อําเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ซึ่งเปนขอพิพาทในชวงเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน ๒๕๖๓ โดย
             รัฐจะดําเนินโครงการกอสรางเขื่อนปองกันการกัดเซาะชายฝง หรือกําแพงกันคลื่น แตกลุมประชาชนมองวา
             การดําเนินโครงการมีความบกพรองในกระบวนการมีสวนรวม และกําแพงกันคลื่นโครงสรางแข็งจะสงผลกระทบ
             ตอการกัดเซาะชายฝงมากขึ้น ปจจุบัน กรณีนี้อยูระหวางการฟองคดีตอศาลปกครอง ๑๗







              ๑๖  รายงานผลการประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ป ๒๕๖๓
              ๑๗  รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานเผยแพรและขับเคลื่อนงานวิจัยสิทธิมนุษยชน ปงบประมาณ ๒๕๖๓ ในพื้นที่ชายแดนภาคใต (จังหวัดสงขลา และปตตานี)
           (วันที่ ๓๐ – ๓๑ มกราคม ๒๕๖๓) โดยกลุมงานวิจัยสิทธิมนุษยชน สํานักกิจการ กสม. สํานักงาน กสม. และ www.hatyaitoday.com/beach-re-structural-impact/
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31