Page 29 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 29
๒๗
¢ŒÍàʹÍá¹Ð
๑. การกําหนดขอบเขตนิยามตาง ๆ ใหชัดเจน โดยเฉพาะอยางยิ่งคําวา “ชุมชน” และ “สิทธิชุมชน”
“ชุมชน” ควรเขียนใหมีความหมายชัดเจน ไมแคบหรือกวางเกินไป โดยรวมถึงมิติตาง ๆ เชน มีทั้งชุมชนที่ยึด
พื้นที่เชิงกายภาพและชุมชนเสมือนจริงที่ไมยึดพื้นที่ มีทั้งชุมชนที่เปนผูใชทรัพยากร และชุมชนที่เปนผูไดรับผลกระทบ
จากกิจกรรมโครงการที่มีผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนตน
“สิทธิชุมชน” ควรเขียนใหมีความหมายชัดเจน ไมควรเขียนในลักษณะที่เปนการลดทอนความซับซอนของสิทธินี้
ใหเหลือแตเพียงสิทธิทํามาหากินหรือสิทธิปากทอง เพราะยังมีมิติจิตวิญญาณซึ่งอาจจะไมเกี่ยวกับเรื่องปากทองหรือ
การทํามาหากิน รวมถึงสิทธิดานเศรษฐกิจซึ่งเปนพัฒนาการของสิทธิชุมชนดวย
๒. การรับรองสิทธิชุมชนในลักษณะเปนสิทธิที่สามารถใชไดทันที ไมจําเปนตองจดทะเบียน หรือมีฐานะเปนนิติบุคคล
หรือตองเขาสูกระบวนการขอและออกใบอนุญาตจากหนวยงาน โดยครอบคลุมสิทธิดังตอไปนี้
๑) สิทธิในการจัดการ บํารุงรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม และความหลากหลาย
ทางชีวภาพอยางสมดุลและยั่งยืน
๒) สิทธิที่จะรวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือรัฐในการจัดการ บํารุงรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากร
ธรรมชาติสิ่งแวดลอม และความหลากหลายทางชีวภาพอยางสมดุลและยั่งยืน โดยกําหนดใหสามารถใชสิทธิ
ไดในสองลักษณะ ไดแก
๒.๑) สิทธิเชิงกระบวนการ คือ สิทธิในการมีสวนรวมกับรัฐในระดับรวมจัดการ
๒.๒) สิทธิภายใตระบบการจัดการรวมโดยเอาชุมชนเปนฐาน โดยกําหนดบทบาทของชุมชนใหเดนมากกวา
บทบาทของรัฐ ซึ่งควรกําหนดรายละเอียดเรื่องการจัดการใหชัดเจนในประเด็นตาง ๆ อาทิ การแบงปน
ผลประโยชนระหวางชุมชนกับรัฐ การจัดใหมีชองทางการบังคับใชสิทธิชุมชนเมื่อชุมชนถูกละเมิดสิทธิ
โดยมีขั้นตอนตนทางกอนจะไปถึงศาล เชน กระบวนการยุติธรรมทางเลือก การไกลเกลี่ย เปนตน
รวมถึงการจัดใหมีการคุมครองและปกปองสิทธิชุมชนโดยอาศัยอํานาจของรัฐหรือองคกรปกครอง
สวนทองถิ่น เพื่อกําหนดขอหามสําหรับบุคคลภายนอกที่จะเขามาใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ
ในชุมชน