Page 28 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 28
๒๖
แมกฎหมายแรจะปรับปรุงและเพิ่มการมีสวนรวมของประชาชนและชุมชนไปบางแลว แตก็มีอีกหลายประเด็น
ที่ยังไมไดรับการแกไข โดยเฉพาะประเด็นสําคัญที่ กสม. ไดมีขอเสนอแนะ คือ การรับรองหลักการ “แรเปนทรัพยากรรวม”
อันเปนการเปลี่ยนความสัมพันธเชิงอํานาจจากเดิมรวมศูนยไวกับรัฐไปสูการจัดการทรัพยากรรวม โดยรัฐและประชาชน
ตองบริหารจัดการรวมกัน ซึ่งเปนหลักการที่สอดคลองกับหลักการสิทธิชุมชน นอกจากนี้ การมีสวนรวมตามกฎหมาย
แรฉบับใหมยังครอบคลุมตลอดหวงโซการผลิตแร โดยเฉพาะการมีสวนรวมในขั้นตอนการสํารวจแร ซึ่งเปนปญหาการ
รองเรียนมายัง กสม. ดวย
ทั้งนี้ แมกฎหมายหลายฉบับที่แกไขใหมจะมีความกาวหนาในแงของการเปดพื้นที่ใหประชาชนมีสวนรวมการจัดการ
ทรัพยากรมากขึ้น แตจากสถานการณสิทธิชุมชนที่นําเสนอขางตน แสดงใหเห็นวา สิทธิของประชาชนหรือชุมชน
ยังไมไดรับการคุมครองอยางแทจริง เพราะรัฐยังคงมีบทบาทหลักในการกําหนดกติกา นโยบายและโครงการตาง ๆ
ในลักษณะระบบการจัดการโดยรัฐ มิใชระบบจัดการรวมที่มีชุมชนเปนฐาน แมจะเปดโอกาสใหมีประชาชน/ชุมชนมีสวนรวม
แตก็เปนการมีสวนรวมภายใตสิ่งที่รัฐกําหนดไวแลว ซึ่งสวนนี้นําไปสูความขัดแยงในการดําเนินโครงการตาง ๆ
ดังนั้น เพื่อสงเสริมใหหลักการสิทธิชุมชนในการ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ถูกนําไปใช
ประโยชนอยางสอดคลองกับหลักการ และรูปธรรม
ทั้งในการกําหนดกฎหมาย นโยบาย หรือแนวปฏิบัติตาง ๆ
ในระดับชาติและระดับพื้นที่เพื่อชวยลดความขัดแยง
ในการจัดการทรัพยากรระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ประชาชนในพื้นที่
แมแนวทางที่จะนําเสนอตอไปนี้ เปนแนวทางสําหรับ
การบัญญัติกฎหมายระดับพระราชบัญญัติเปนสําคัญ
แตหลักการและแนวทางบางประการอาจเปนประโยชน
สําหรับหนวยงานระดับพื้นที่ โดยเฉพาะองคกรปกครอง
สวนทองถิ่นหรือองคกรชุมชนในการนําไปใชเปนแนวทาง
ในการกําหนดกฎกติกาในการจัดการทรัพยากรระดับ
ทองถิ่นได
โดยแนวทางที่จะนําเสนอตอไปนี้เปนแนวทางที่เชื่อมโยงระหวางบทบัญญัติเรื่องสิทธิของบุคคลและชุมชน
ตามมาตรา ๔๓ (๒) และบทบัญญัติเรื่องหนาที่ของรัฐตามมาตรา ๕๗ (๒) ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ เปนหลัก สวนบทบัญญัติมาตรา ๕๘ ซึ่งมีสาระเฉพาะเรื่องที่แตกตางออกไปนั้น จะไมได
กลาวถึงเพื่อปองกันการสับสน