Page 24 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 24
๒๒
ÀÒ¾ÃÇÁ»ÃÐà´ç¹ÊÔ·¸ÔªØÁª¹ ñò
จากการติดตามและประเมิน แมรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย ไดรับรองสิทธิชุมชน มาตั้งแตป ๒๕๔๐
แตการคุมครองสิทธิชุมชนยังมีขอจํากัดอยูพอสมควร
สวนหนึ่งเปนเพราะมิไดตราหรือแกไขกฎหมายลําดับ
รองใหสอดคลองกับหลักการตามรัฐธรรมนูญ การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมยังคงเปนระบบ
การจัดการโดยรัฐ ประชาชนหรือชุมชนมิไดมีสวนรวม
อยางแทจริง ทําใหเกิดความขัดแยงระหวางรัฐ และ
ประชาชนมากกวาที่จะเปนการรวมมือกัน ยิ่งกวานั้น
หลายกรณีนําไปสูการละเมิดสิทธิของประชาชนและชุมชน
โดยนับตั้งแต ป ๒๕๕๔ ถึงปจจุบัน (ขอมูล ณ เดือนมีนาคม
๒๕๖๔) มีการรองเรียนประเด็นสิทธิชุมชน ในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตอ กสม. จํานวนมาก
โดยสูงสุดเปนอันดับที่ ๒
เมื่อพิจารณาจากประเด็นการรองเรียนนับแตป ๒๕๕๐ - ๒๕๖๔ พบวา ประเด็นที่มีการรองเรียน ไดแก การจัดการ
ทรัพยากรที่ดินและปาไม การประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรม การดําเนินโครงการโรงไฟฟา เหมืองแร การจัดการนํ้า
การจัดการขยะ/สิ่งปฏิกูล การประกอบกิจการฟารมเลี้ยงสัตว รวมถึงการดําเนินโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยผูที่
ถูกรองเรียน มีทั้งที่เปนภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ หนวยงานราชการ ทั้งสวนกลาง สวนภูมิภาค และองคกรปกครอง
สวนทองถิ่นในระดับตาง ๆ
อยางไรก็ดี ในชวงหลายที่ผานมา รัฐไดแกไขปรับปรุง
กฎหมายเกี่ยวกับประเด็นสิทธิชุมชนในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมหลายฉบับและ
เกี่ยวพันกับหลายประเด็น ซึ่งกฎหมายเหลานี้เปนพัฒนา
การทั้งเชิงบวกและลบตอสิทธิชุมชน โดยนําเสนอตัวอยาง
ในบางประเด็น ดังนี้
๑๒ ประมวลและสังเคราะหจาก (๑) แนวปฏิบัติเพื่อการจัดการรวมประเด็นสิทธิชุมชน : สิทธิชุมชนกับการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และการพัฒนา
รวมถึงสิทธิอื่นที่เกียวของ (๒๕๖๓) และ (๒) ขอมูลนําเสนอการประชุมติดตาม สถานการณดานสิทธิชุมชนรวมกับผูมีมีสวนไดสวนเสีย วันที่ ๑๓ - ๑๔ มีนาคม ๒๕๖๔