Page 37 - รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะ มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ฉบับสมบูรณ์)
P. 37
บทที่ 2
แนวคิดในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
อ านาจหน้าที่ขององค์กรปกครองท้องถิ่น
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
มาตรา 290 เพื่อส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม องค์กร มาตรา 290 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีอ านาจหน้าที่
ปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีอ านาจหน้าที่ตามที่ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามที่
กฎหมายบัญญัติ กฎหมายบัญญัติ
(วรรคสอง) กฎหมายตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยต้องมีสาระส าคัญ (วรรคสอง) กฎหมายตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยต้องมีสาระส าคัญ
ดังต่อไปนี้ ดังต่อไปนี้
(1) การจัดการ การบ ารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จาก (1) การจัดการ การบ ารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในเขตพื้นที่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในเขตพื้นที่
(2) การเข้าไปมีส่วนในการบ ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ (2) การเข้าไปมีส่วนร่วมในการบ ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมที่อยู่นอกเขตพื้นที่ เฉพาะในกรณีที่อาจมี และสิ่งแวดล้อมที่อยู่นอกเขตพื้นที่ เฉพาะในกรณีที่อาจมี
ผลกระทบต่อการด ารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ของตน ผลกระทบต่อการด ารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ของตน
(3) การมีส่วนร่วมในการพิจารณาเพื่อริเริ่มโครงการหรือ (3) การมีส่วนร่วมในการพิจารณาเพื่อริเริ่มโครงการหรือ
กิจกรรมใดนอกเขตพื้นที่ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพ กิจกรรมใดนอกเขตพื้นที่ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมหรือสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่ สิ่งแวดล้อมหรือสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่
(4) การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น
รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2550 ได้คงไว้ซึ่งบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ในการให้
อ านาจหน้าที่แก่องค์กรปกครองท้องถิ่น ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ โดยได้เพิ่ม
เรื่องการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น
จากการรวบรวมบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องในรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2550
แล้วพบว่ารัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2540 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่มีการให้สิทธิแก่บุคคลรวมถึงชุมชนเพื่อมี
ส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งสิทธิในการบ ารุงรักษาและสิทธิในการใช้ประโยชน์ และสิทธิ
เชิงกระบวนการ เช่น การได้มาซึ่งข้อมูลของหน่วยงานรัฐ เป็นต้น แม้จะมีความขัดข้องบางประการในการ
ตีความการใช้สิทธิ รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2550 ได้แสดงให้เห็นว่ามีความพยายามในการแก้ไขอุปสรรค
เหล่านั้นโดยการตัดถ้อยค าที่มีปัญหาออก รวมถึงได้เน้นการรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วน
30
ได้เสียอย่างเต็มที่ เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนและชุมชนมีความชอบธรรมในการเคลื่อนไหวทางสังคมมากขึ้น
30 ไพโรจน์ พลเพชร. (2547). รายงานการวิจัยสมบูรณ์สิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์. (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. น.337-338.
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 2-19