Page 36 - รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะ มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ฉบับสมบูรณ์)
P. 36
รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดท าข้อเสนอแนะ มาตรการ หรือแนวทางในการส่งเสริมและ
คุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ประการที่สาม รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2550 ได้ก าหนดเพิ่มเติมให้รัฐจัดให้มีกระบวนการรับ
ฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทั่วถึง ในเรื่องของการวางแผนพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และ
วัฒนธรรม การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ การวางผังเมือง โดยเฉพาะการก าหนดเขตการใช้ประโยชน์ในที่ดินและ
การออกกฎที่อาจมีผลกระทบต่อส่วนได้เสียส าคัญของประชาชน
หน้าที่ของรัฐต่อสิทธิชุมชน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
มาตรา 79 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วน มาตรา 85 รัฐต้องด าเนินการตามแนวนโยบายด้านที่ดิน
ร่วมในการสงวน บ ารุงรักษา และใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดังต่อไปนี้
ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทาง (1) ก าหนดหลักเกณฑ์การใช้ที่ดินให้ครอบคลุมทั่วประเทศ โดย
ชีวภาพอย่างสมดุล รวมทั้งมีส่วนร่วมในการ ให้ค านึงถึงความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
ส่งเสริมบ ารุง รักษาและคุ้มครองคุณภาพ ทั้งผืนดิน ผืนน้ า วิถีชีวิตของชุมชนท้องถิ่น และการดูแล
สิ่งแวดล้อมตามหลักการการพัฒนาที่ยั่งยืน รักษาทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ และก าหนด
ตลอดจนควบคุมและก าจัดภาวะมลพิษที่มีผลต่อ มาตรฐานการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืน โดยต้องให้ประชาชนใน
สุขภาพอนามัย พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากหลักเกณฑ์การใช้ที่ดินนั้นมีส่วน
สวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ร่วมในการตัดสินใจด้วย
(2) กระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรมและด าเนินการ
ให้เกษตรกรมีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิในที่ดินเพื่อประกอบ
เกษตรกรรมอย่างทั่วถึงโดยการปฏิรูปที่ดินหรือวิธีอื่น
รวมทั้งจัดหาแหล่งน้ าเพื่อให้เกษตรกรมีน้ าใช้อย่างพอเพียง
และเหมาะสมแก่การเกษตร
(3) จัดให้มีการวางผังเมือง พัฒนา และด าเนินการตามผังเมือง
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อประโยชน์ในการ
ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
(4) จัดให้มีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ าและทรัพยากร-
ธรรมชาติอื่นอย่างเป็นระบบและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม
ทั้งต้องให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสงวน บ ารุงรักษา และ
ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลาย
ทางชีวภาพอย่างสมดุล
(5) ส่งเสริม บ ารุงรักษา และคุ้มครองคุณภาพสิ่งแวดล้อมตาม
หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน ตลอดจนควบคุมและก าจัดภาวะ
มลพิษที่มีผลต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ และคุณภาพ
ชีวิตของประชาชน โดยประชาชน ชุมชนท้องถิ่นและองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องมีส่วนร่วมในการก าหนดแนว
ทางการด าเนินงาน
นอกจากการส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ในรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2540 แล้ว ในฉบับปี พ.ศ. 2550 ยังได้เพิ่มเติมแนวนโยบายด้านที่ดิน ได้แก่
การก าหนดหลักเกณฑ์การใช้ที่ดินโดยประชาชนมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสม การกระจายการถือครองที่ดินอย่าง
เป็นธรรม การจัดการและด าเนินการตามผังเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ และการจัดการทรัพยากรที่เป็นระบบ
2-18 สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย