Page 34 - รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะ มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ฉบับสมบูรณ์)
P. 34

รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดท าข้อเสนอแนะ มาตรการ หรือแนวทางในการส่งเสริมและ
               คุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน


                              สิทธิในการมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชน

                    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
                 มาตรา 56  สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชน    มาตรา 67  สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชน
                          ในการบ ารุงรักษา และการได้ประโยชน์จาก         ในการอนุรักษ์ บ ารุงรักษา และการได้ประโยชน์
                          ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทาง            จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทาง
                          ชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษา     ชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษา
                          คุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ด ารงชีพอยู่ได้อย่างปกติ  คุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ด ารงชีพอยู่ได้อย่างปกติ
                          และต่อเนื่อง ในสิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิด  และต่อเนื่องในสิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตราย
                          อันตรายต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพ   ต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิต
                          ชีวิตของตน ย่อมได้รับความคุ้มครอง  ทั้งนี้ ตามที่  ของตน ย่อมได้รับความคุ้มครองตามความเหมาะสม
                          กฎหมายบัญญัติ

                 (วรรคสอง) การด าเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิด  (วรรคสอง) การด าเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิด
                 ผลกระทบอย่างรุนแรงต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมจะกระท ามิได้    ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม
                 เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม   ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ จะกระท ามิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษา
                 รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์การเอกชน  และประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของ
                 ด้านสิ่งแวดล้อมและผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาด้าน  ประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็น
                 สิ่งแวดล้อมให้ความเห็นประกอบก่อนมีการด าเนินการดังกล่าว    ของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระ
                 ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ                   ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
                                                               และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม
                                                               หรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพ ให้ความเห็นประกอบ
                                                               ก่อนมีการด าเนินการดังกล่าว
                 (วรรคสาม) สิทธิของบุคคลที่จะฟ้องหน่วยราชการ หน่วยงานของ  (วรรคสาม) สิทธิของชุมชนที่จะฟ้องหน่วยราชการ หน่วยงานของ
                 รัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรอื่นของรัฐ เพื่อให้  รัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรอื่นของรัฐที่เป็น
                 ปฏิบัติหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมายตามวรรคหนึ่งและวรรค  นิติบุคคล เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามบทบัญญัตินี้ ย่อมได้รับความ
                 สองย่อมได้รับความคุ้มครอง                     คุ้มครอง

                            จากทั้ง 2 มาตราดังกล่าว มีข้อพิจารณา 6 ประการ ดังนี้

                            ประการแรก มาตราทั้งสองเป็นการยอมรับสิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชน

               ในการบ ารุงรักษา และการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการ

               คุ้มครอง ส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ด ารงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนื่องในสิ่งแวดล้อม
               ที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน


                            ประการที่สอง รัฐธรรมนูญ ฉบับปี พ.ศ. 2550 ได้เพิ่มเติมสิทธิในการอนุรักษ์เข้าไปด้วย

                            ประการที่สาม รัฐธรรมนูญ ฉบับปี พ.ศ. 2540 ได้คุ้มครองสิทธิเหล่านั้น โดยบัญญัติว่า “ย่อม

               ได้รับความคุ้มครอง  ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ” จึงเกิดปัญหาในการตีความว่าต้องรอกฎหมายล าดับ
               พระราชบัญญัติเช่นเดียวกับหัวข้อที่ผ่านมา รัฐธรรมนูญ ฉบับปี พ.ศ. 2550 จึงแก้ไขเป็น “ย่อมได้รับความ

               คุ้มครองตามความเหมาะสม” เพื่อให้ศาลสามารถใช้ดุลพินิจได้ทันที









               2-16                                                             สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39