Page 42 - รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะ มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ฉบับสมบูรณ์)
P. 42

รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดท าข้อเสนอแนะ มาตรการ หรือแนวทางในการส่งเสริมและ
               คุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน


                                                                 36
               ไว้ในประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  ตามรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่านมาแล้ว แต่ยังคงมี
               ข้อพิจารณาว่า ที่ก าหนดไว้ในเอกสารท้ายประกาศ 1

                              หน้าที่ของรัฐในการเปิดเผยข้อมูลและจัดท าข้อมูลให้ประชาชนเข้าถึงได้โดยสะดวก


                            มาตรา 59 “รัฐต้องเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยงานของรัฐ
               ที่มิใช่ข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐหรือเป็นความลับของทางราชการตามที่กฎหมายบัญญัติ และต้องจัดให้

               ประชาชนเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารดังกล่าวได้โดยสะดวก”

                            ได้ถูกย้ายมาไว้ในหมวด ‘หน้าที่ของรัฐ’ แตกต่างจากการอยู่ในหมวด ‘สิทธิและเสรีภาพ’ ตาม

               รัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่านมา

                              หน้าที่ของรัฐในการด าเนินการเกี่ยวกับทรัพยากร รวมถึงการกระจายการถือครองที่ดิน


                            มาตรา 72 “รัฐพึงด าเนินการเกี่ยวกับที่ดิน ทรัพยากรน้ า และพลังงาน ดังต่อไปนี้

                            (1)  วางแผนการใช้ที่ดินของประเทศให้เหมาะสมกับสภาพของพื้นที่และศักยภาพของที่ดินตาม

                                หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน
                            (2)  จัดให้มีการวางผังเมืองทุกระดับและบังคับการให้เป็นไปตามผังเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ

                                รวมตลอดทั้งพัฒนาเมืองให้มีความเจริญโดยสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
                                ในพื้นที่

                            (3)  จัดให้มีมาตรการกระจายการถือครองที่ดินเพื่อให้ประชาชนสามารถมีที่ท ากินได้อย่างทั่วถึง

                                และเป็นธรรม
                            (4)  จัดให้มีทรัพยากรน้ าที่มีคุณภาพและเพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคของประชาชน รวมทั้ง

                                การประกอบเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการอื่น

                            (5)  ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า รวมทั้งพัฒนาและสนับสนุนให้
                                มีการผลิตและการใช้พลังงานทางเลือกเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานอย่างยั่งยืน”


                            เป็นการก าหนดนโยบายให้เป็นหน้าที่ของรัฐ จึงมีข้อพิจารณาว่าหากรัฐไม่ได้ด าเนินการ หรือ
               ด าเนินการไม่ส าเร็จ ประชาชนมีสิทธิเรียกร้องต่อรัฐหรือไม่ ซึ่งในมาตรา 51 ได้บัญญัติว่า “การใดที่รัฐธรรมนูญ

               บัญญัติให้เป็นหน้าที่ของรัฐตามหมวดนี้ ถ้าการนั้นเป็นการท าเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนโดยตรง ย่อม
               เป็นสิทธิของประชาชนและชุมชนที่จะติดตามและเร่งรัดให้รัฐด าเนินการ รวมตลอดทั้งฟ้องร้องหน่วยงานของ

               รัฐที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดให้ประชาชนหรือชุมชนได้รับประโยชน์นั้นตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ”






               36   ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง ก าหนดโครงการกิจการหรือการด าเนินการที่อาจมีผลกระทบต่อทรัพยากร-

                   ธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต ของประชาชนในชุมชนอย่างรุนแรง ซึ่งต้องจัดท ารายงานการประเมินผล
                   กระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดท ารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม



               2-24                                                             สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47