Page 25 - รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะ มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ฉบับสมบูรณ์)
P. 25
บทที่ 2
แนวคิดในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
15
รวมถึงในหลักการข้อ 19 ปฏิญญาสต็อกโฮล์มได้ระบุว่า “การศึกษาเรื่องสิ่งแวดล้อมไม่ว่าจะส าหรับ
คนรุ่นถัดไปหรือผู้ใหญ่ จะค านึงถึงผู้เสียเปรียบทางโอกาส ขยายฐานความรู้ความเข้าใจ และการด าเนินการ
อย่างรับผิดชอบของปัจเจก บุคคล วิสาหกิจ และชุมชนในการปกป้องและฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมในทุกมิติ นอกจากนี้
สื่อมวลชนจ าเป็นที่จะต้องไม่น าเสนอการเสื่อมสภาพของสิ่งแวดล้อม แต่จะเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะ
การศึกษาเกี่ยวกับความจ าเป็นที่จะแสดงออกมาและฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม เพื่อให้น าไปสู่การพัฒนา”
สิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เพียงพอส าหรับสุขภาพและสวัสดิภาพ และหน้าที่
ในการปกป้องและพัฒนาสิ่งแวดล้อมโดยปัจเจกหรือโดยการรวมกลุ่ม
อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การมีส่วนร่วมสาธารณะในการตัดสินใจ และการเข้าถึง
ความยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม ค.ศ. 1998 (Convention on Access to Information, Public Participation
in Decision-making and Access to Justice in Environmental Matters) หรืออนุสัญญาอาร์ฮูส (Aarhus
Convention) ได้ระบุไว้ในอารัมภบทว่า “รัฐจะต้องตระหนักว่าการปกป้องคุ้มครองสิ่งแวดล้อมอย่างพอเหมาะนั้น
16
มีความส าคัญอย่างยิ่งต่อสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน และสิทธิในการมีชีวิต” รวมถึงการตระหนักว่า “ปัจเจก
ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่พอเหมาะกับสุขภาพและสวัสดิภาพ และมีหน้าที่ในการปกป้องและ
พัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งโดยตัวปัจเจกเองและการรวมกลุ่มกับปัจเจกอื่น เพื่อประโยชน์ของคนรุ่นปัจจุบันและ
อนาคตชน” และในการที่จะยืนยันสิทธิและท าตามหน้าที่นั้น “รัฐจะต้องตระหนักถึงสิทธิในการเข้าถึงข้อมูล
17
ข่าวสาร การมีส่วนร่วมสาธารณะในการตัดสินใจ การเข้าถึงความยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม รวมถึงรัฐจะต้อง
18
ยอมรับและให้ความส าคัญกับการช่วยเหลือเพื่อให้ประชาชนสามารถใช้สิทธิดังกล่าวได้”
15 Declaration of the United Nations Conference on the Human Environment 1972, Principle 19 Education in
environmental matters, for the younger generation as well as adults, giving due consideration to the
underprivileged, is essential in order to broaden the basis for an enlightened opinion and responsible conduct
by individuals, enterprises and communities in protecting and improving the environment in its full human
dimension. It is also essential that mass media of communications avoid contributing to the deterioration of
the environment, but, on the contrary, disseminates information of an educational nature on the need to
project and improve the environment in order to enable mal to develop in every respect.
16 Convention on Access to Information, Public Participation in Decision-making and Access to Justice in
Environmental Matters, Preamble: Recognizing that adequate protection of the environment is essential to
human well-being and the enjoyment of basic human rights, including the right to life itself.
17 Convention on Access to Information, Public Participation in Decision-making and Access to Justice in
Environmental Matters, Preamble: Recognizing also that every person has the right to live in an environment
adequate to his or her health and well-being, and the duty, both individually and in association with others, to
protect and improve the environment for the benefit of present and future generations.
18 Convention on Access to Information, Public Participation in Decision-making and Access to Justice in
Environmental Matters, Preamble: Considering that, to be able to assert this right and observe this duty,
citizens must have access to information, be entitled to participate in decision-making and have access to
justice in environmental matters, and acknowledging in this regard that citizens may need assistance in order
to exercise their rights.
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 2-7