Page 73 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 73

กรอบการท�า HRDD      7







 การสร้างสมดุลระหว่างตัวชี้วัดที่เน้นผลลัพธ์ และตัวชี้วัดที่เน้นกระบวนการ
                 3           การค�านึงถึงมุมมองของผู้มีส่วนได้เสีย

    ตัวชี้วัดจำานวนมากจะมองเหตุการณ์หรือผลกระทบที่เกิดขึ้นแล้ว ซึ่งแน่นอนว่าจำาเป็นต่อการติดตามผล อย่างไรก็ดี
 ตัวชี้วัดเชิงกระบวนการก็สำาคัญเช่นเดียวกันสำาหรับการตีความข้อมูล ยกตัวอย่างเช่น คุณจะเข้าใจตัวชี้วัดที่บ่งชี้ว่า

 ชุมชนตกลงรับแผนการโยกย้ายถิ่นฐานได้ดีขึ้น ถ้าหากคุณทบทวนเปรียบเทียบกับตัวชี้วัดเรื่องกระบวนการปรึกษาหารือ     มุมมองของคนนอกต่อผลประกอบการด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัท อาจช่วยยืนยันการประเมินของตัวบริษัทเอง
 กับผู้มีส่วนได้เสีย “ความตกลง” ของชุมชนอาจเข้าใจได้แตกต่างกัน – ในกรณีหนึ่ง ถ้าหากกระบวนการทำาให้พนักงาน  และอาจช่วยชี้แนะตัวชี้วัดที่อาจมองข้ามไป มุมมองของผู้มีส่วนได้เสียที่อาจได้รับผลกระทบนั้นสำาคัญเป็นพิเศษสำาหรับ
 สามารถทำาข้อตกลงกับคนที่อ้างว่าตัวเองเป็นผู้นำาชุมชน อ้างว่าเป็นตัวแทนของชุมชนจริงๆ เทียบกับอีกกรณีหนึ่ง   การทำาความเข้าใจว่า บริษัทกำาลังจัดการกับความเสี่ยงที่จะก่อผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชนของพวกเขาได้ดีเพียงใด
 ที่กระบวนการกำาหนดว่าจะต้องปรึกษาหารืออย่างเปิดเผย ให้ข้อมูลครบถ้วนและพูดคุยกับสมาชิกในชุมชนจริงๆ
 ร่วมกับผู้นำาของพวกเขา                         ให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วม



                    การประเมินว่าบริษัทกำาลังทำาตามความรับผิดชอบในการเคารพสิทธิมนุษยชนได้ดีเพียงใดนั้น ย่อมมีมิติที่เป็น
 ตัวชี้วัดเพื่อการอบรม
              อัตวิสัย (Subjective) เสมอ การให้ผู้มีส่วนได้เสียเข้ามามีส่วนร่วมโดยตรงในกระบวนการติดตามผลนั้น สามารถใช้ทดสอบ
              สมมติฐานต่างๆ ของบริษัทเองว่าบริษัทกำาลังทำางานได้ดีเพียงใด และช่วยเสริมสร้างความน่าเชื่อถือให้กับข้อสรุปของ
    บริษัทหลายแห่งเน้นการฝึกอบรมบุคลากรเรื่องการทำาตามพันธะด้านสิทธิมนุษยชน ฉะนั้นจึงอาจเป็นประโยชน์
 ที่จะออกแบบตัวชี้วัดเพื่อทดสอบประสิทธิผลของการอบรม นอกเหนือไปจากการนับว่ามีบุคลากรผ่านการอบรมกี่คน   บริษัท วิธีที่บริษัทของคุณอาจใช้ได้ อาทิ
 ตัวชี้วัดทำานองนี้อาจเน้นการประเมินว่าผู้เข้าร่วมเข้าใจสิ่งที่เรียนรู้เพียงใด และนำาบทเรียนไปประยุกต์ใช้ในการทำางานจริง
 มากเพียงใด การประเมินนี้อาจใช้วิธีสำารวจก่อนและหลังการอบรม และติดตามผลหลังจากที่ผ่านไปหลายเดือน

    ตัวอย่างชนิดและตัวอย่างของข้อมูลที่ติดตามผลและนำามารายงานได้ แสดงดังตารางด้านล่าง   •  ทำางานร่วมกับสหภาพแรงงานในระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติ และองค์กรพัฒนาเอกชนในการติดตาม
                       ตรวจสอบสิทธิมนุษยชนของแรงงาน และประเมินประสิทธิผลของกลไกตรวจสอบภายในของบริษัท

                    •  จัดทำาโครงการค้นหาข้อเท็จจริงหรือโครงการติดตามตรวจสอบร่วมกับผู้เชี่ยวชาญอิสระ ตัวแทนจาก
 ค�าอธิบาย  ตัวอย่าง  รายงานได้หรือไ่ม่  ภาคประชาสังคม หรือคณะทำางานจากชุมชนท้องถิ่น (โดยให้การอบรมและการสนับสนุนเมื่อจำาเป็น)
                    •  สำาหรับโครงการที่มีขนาดใหญ่หรือซับซ้อนมาก บริษัทอาจจัดตั้งคณะที่ปรึกษาระดับชาติ
 1. กระบวนการ  กระบวนการที่บริษัทได้ท�า   รายละเอียดเกี่ยวกับการ  โดยทั่วไปบริษัทสะดวกใจกับการเน้นไป  หรือใหญ่กว่านั้น ซึ่งประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญ สหภาพแรงงาน และตัวแทนภาคประชาสังคม
 เพื่อด�าเนินการตรวจสอบด้าน  ประเมิน / ตรวจสอบ   ที่กระบวนการ อย่างไรก็ตาม
   สิ่งที่ปฎิบัติ
 สิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน  ผู้รับเหมา  รายละเอียดของกระบวนการต่าง ๆ    เพื่อทบทวนผลประกอบการด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัทอย่างเป็นทางการเป็นระยะๆ
 มักจะไม่ให้รายละเอียดว่ามี
 รายละเอียดเกี่ยวกับกลไก  •  ถ้าหากบริษัทมีประวัติความไม่ไว้วางใจระหว่างบริษัทกับชุมชน หรือระหว่างฝ่ายจัดการกับแรงงาน
 ประสิทธิภาพหรือไม่
 เยียวยา
                       หรือพนักงาน บริษัทก็ควรหาบุคคลหรือองค์กรที่ทุกฝ่ายไว้วางใจว่าจะประเมินความพยายาม
 รายละเอียดเกี่ยวกับการ
 ฝึกอบรมด้านสิทธิมนุษยชน  ของบริษัทอย่างถูกต้องและเป็นอิสระ
 แก่ลูกจ้าง


 2. สิ่งที่เกิดขึ้น  ผลของการติดตามผลกระทบ  รายการกรณีที่มีการเลือก  บริษัทรายงานกรณีที่เกี่ยวกับสิทธิ
 ทางลบที่เกิดขึ้น  ปฏิบัติ  แรงงานมากขึ้น อย่างน้อยปีละครั้ง   บทบาทของกลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับปฏิบัติการ
 ในรายงานประจ�าปี
 การคุกคามความปลอดภัย
                กลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับท้องถิ่นนั้นเป็นช่องทางสำาคัญสำาหรับชุมชนที่ได้รับผลกระทบ ให้มาแสดงออกว่า

 3. ผลลัพธ์  ผลกระทบจากกิจกรรม   ระดับเงินเดือน  บ่อยครั้งการรายงานมักเกี่ยวข้องกับ  พวกเขากังวลเรื่องผลกระทบอะไร และสะท้อนว่าผลกระทบนั้นกำาลังถูกจัดการหรือไม่อย่างไร กลไกรับเรื่องร้องเรียน
 ของบริษัทเป็นระบบและ   ผลจากการประเมินผลกระทบและ
 สุขภาพของชุมชนโดยรอบ  จากพนักงานหรือแรงงานก็ทำาแบบนี้ได้เช่นกัน พนักงานระดับปฏิบัติการอาจเป็นแหล่งข้อมูลที่สำาคัญเกี่ยวกับผลกระทบ
 กว้างขวางมากขึ้น  ตัวชี้วัดระยะยาว การรายงาน
 ยังขึ้นอยู่กับข้อมูลที่หาได้ และความ  ต่อสิทธิมนุษยชนของพวกเขาเอง และผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชนของชุมชน กระบวนการและระบบติดตามผลของบริษัท
 ละเอียดอ่อนของจ้อมูล  จะได้ประโยชน์จากการบูรณาการข้อมูลนี้ ขณะเดียวกันก็เคารพความเป็นส่วนตัวและพยายามป้องกันการแก้แค้นด้วย







 72                                                                                                       73
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78