Page 69 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 69
กรอบการท�า HRDD 7
เรื่องนี้ส�าคัญอย่างไร?
ระบบหรือกระบวนการข้างต้น บางระบบอาจติดตามประสิทธิผลของการจัดการความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน
• การติดตามดูว่าบริษัทจัดการความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนได้ดีเพียงใด บางประการอยู่แล้ว ในทำานองเดียวกัน บริษัทของคุณอาจติดตามประเด็นสิทธิมนุษยชนในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของการ
คือ วิธีเดียวเท่านั้นที่บริษัทจะรับรู้ได้ว่ากำาลัง “เคารพสิทธิมนุษยชน” ปฏิบัติตามกฎหมายหรือกฎเกณฑ์ของรัฐ เช่น ตามข้อกำาหนดของแหล่งทุน หรือมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลที่บริษัท
ในทางปฏิบัติจริงๆ หรือไม่ เลือกปฏิบัติตาม ในกรณีนั้นบริษัทอาจทำาแผนที่ประเด็นต่างๆ ที่กำาลังติดตามผลอยู่แล้ว เปรียบเทียบกับความเสี่ยงด้าน
• กระบวนการติดตามผล คือ มิติที่ขาดไม่ได้ของการพัฒนาปรับปรุง สิทธิมนุษยชนข้อสำาคัญๆ เพื่อดูว่ามีช่องว่างอะไรบ้างที่จะต้องเติมเต็ม โดยบริษัทจะต้องรำาลึกอยู่เสมอว่าสิทธิมนุษยชน
อย่างต่อเนื่อง มันช่วยให้บริษัทมองเห็นแนวโน้มและแบบแผน บ่งชี้ปัญหา มีลักษณะเฉพาะตัว ยกตัวอย่างเช่น กระบวนการติดตามผลควรคำานึงถึงมุมมองของผู้มีส่วนได้เสียต่อผลประกอบการ
ซ้ำาซ้อนซึ่งอาจต้องแก้ไขด้วยการเปลี่ยนนโยบายหรือกระบวนการของบริษัท ด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัท ไม่ใช่ดูแต่ “ข้อเท็จจริง” ที่บริษัทกำาหนดเอง นั่นหมายความว่า บริษัทจะต้องให้ความสำาคัญ
อย่างเป็นระบบ อีกทั้งกระบวนการนี้ยังอาจชี้ให้เห็น “วิถีปฏิบัติอันเป็นเลิศ” เป็นพิเศษกับความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบ
ที่ใช้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันทั่วทั้งบริษัท
• กระบวนการติดตามผลจำาเป็นต่อการให้บริษัทสามารถสื่อสารอย่างเที่ยงตรง
ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายว่า บริษัทกำาลังทำาอะไรบ้างเพื่อแสดงความรับผิดชอบ
ในการเคารพสิทธิมนุษยชน
การติดตามผลระดับพื้นที่ และระดับองค์กร
ขั้นตอนที่จ�าเป็น
ข้อมูลที่จำาเป็นต่อการติดตามผลจะอยู่ในระดับพื้นที่ (โรงงาน สถานประกอบการ พื้นที่โครงการ ฯลฯ) ถ้าหาก
บริษัทของคุณมีขนาดใหญ่ ข้อมูลบางส่วนก็อาจมาจากการที่สำานักงานใหญ่ได้หารือกับองค์กรภาคประชาสังคม
ระดับโลกหรือระดับชาติ สหภาพแรงงาน หรือนักลงทุนที่รับผิดชอบต่อสังคม บริษัทควรนำาข้อมูลเหล่านี้มารวบรวม
1 การออกแบบกระบวนการติดตามผลอย่างเป็นระบบ และวิเคราะห์ สำานักงานใหญ่จะต้องสามารถติดตามความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนและผลกระทบ ณ พื้นที่โครงการ
ที่แตกต่างกัน ประสบการณ์ของบริษัทในการติดตามอุบัติภัยหรือเหตุการณ์ไม่ปลอดภัยอื่นๆ อาจให้บทเรียนที่มีค่า เช่น
วิธีให้คะแนน (Scorecard) และระบบแจ้งเตือนเหตุร้ายอาจได้เข้าถึงการรับรู้ของผู้บริหารระดับสูงหรือคณะกรรมการ
บริษัทของคุณสามารถออกแบบกระบวนการติดตามผลเฉพาะสำาหรับสิทธิมนุษยชน หรือบูรณาการเข้ากับ บริษัท
กระบวนการและระบบติดตามผลประเด็นอื่นๆ ที่บริษัทมีอยู่เดิม กระบวนการที่ว่านี้ควรอาศัยแหล่งข้อมูลจากภายใน
และภายนอกองค์กรเพื่อให้เห็นภาพที่เที่ยงตรงที่สุด และใช้ตัวชี้วัดทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
วิเคราะห์ “รากสาเหตุ” ของปัญหา
ใช้ประโยชน์จากระบบการติดตามผลอื่น ๆ ของบริษัท
เมื่อใดที่เกิดผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนขั้นรุนแรง หรือผลกระทบขั้นรุนแรงน้อยกว่าแต่เกิดอย่างซ้ำาซ้อน บริษัท
บริษัทของคุณอาจพบว่า สามารถต่อยอดหรือนำาบทเรียนจากระบบติดตามผลดั้งเดิมที่มีอยู่แล้ว ระบบซึ่งติดตาม
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน ยกตัวอย่างเช่นประเด็นต่อไปนี้ ของคุณก็ควรวิเคราะห์เชิงลึกว่ามีปัจจัยรากฐานหรือ “รากสาเหตุ” อะไร การประเมินอย่างผิวเผินอาจบ่งชี้ว่าการกระทำา
หรือการตัดสินใจของบริษัทไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับผลกระทบ แต่ในบางกรณีการวิเคราะห์เชิงลึกอาจเผยให้เห็นว่า
การกระทำาหรือการตัดสินใจของบริษัทมีส่วนสร้างผลกระทบ และชี้แนวทางที่บริษัทอาจใช้เพื่อป้องกันไม่ให้เหตุการณ์
• สุขภาพและความปลอดภัย นั้นเกิดขึ้นอีก บริษัทหลายแห่งมีประสบการณ์มาแล้วกับการวิเคราะห์รากสาเหตุของอุบัติภัยหรือหายนะด้านสิ่งแวดล้อม
• การจัดการสิ่งแวดล้อม ฉะนั้นจึงอาจประยุกต์ระเบียบวิธีเหล่านั้นเข้ากับประเด็นสิทธิมนุษยชนเช่นกัน
• จริยธรรมและการทำาตามกฎหมาย
• การทบทวนบริษัทรักษาความปลอดภัย
• รายงานการตรวจสอบภายใน
• ผลการประเมินตนเองในระดับฝ่าย
• รายงานการประเมินโดยบุคคลภายนอก
68 69