Page 71 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 71
กรอบการท�า HRDD 7
ออกแบบระบบการติดตามผลเพื่อเชื้อเชิญให้คนทั้งบริษัทเข้าร่วม
2 การพัฒนาตัวชี้วัด
ระบบการติดตามผลอาจเป็นเครื่องมือช่วยให้ฝ่ายต่างๆ ภายในบริษัทสามารถรับมือกับผลกระทบ แบบเชิงรุก
ยกตัวอย่างเช่น
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณมีความเที่ยงตรงและอาจเข้ากันได้ง่ายกว่ากับระบบติดตามผลประกอบการที่บริษัทมีอยู่เดิม
อย่างไรก็ตาม ในเมื่อความเคารพสิทธิมนุษยชนเป็นเรื่องของผลกระทบต่อผู้คน ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพจึงมีความสำาคัญ
ไม่แพ้กัน โดยเฉพาะเสียงสะท้อนจากผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบ
• ระบบการติดตามผลอาจส่งมอบข้อมูลที่ชี้ให้เห็นความเป็น “เหตุ” และ “ผล”
ระหว่างอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นของฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง กับการละเมิดกฎเกณฑ์หรือ
มาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชนโดยคู่ค้า หรือระหว่างกิจกรรมของฝ่ายก่อสร้าง แหล่งข้อมูลส�าหรับการเลือกตัวชี้วัด
กับข้อร้องเรียนของชุมชน หลักฐานแบบนี้จะช่วยให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้องจัดการ
กับปัญหาและระงับไม่ให้มันเกิดขึ้นอีก ตัวชี้วัดจะต้องมีความหมายในบริบทท้องถิ่นที่บริษัทประกอบกิจการ แหล่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์อาทิ
• ระบบการติดตามผลอาจกำาหนดให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือหน่วยธุรกิจใด
ธุรกิจหนึ่งมีความรับผิดชอบในการสืบสวนผลกระทบ กำาหนดเส้นตายของ
การตอบสนองหรือรายงานความคืบหน้า และยกระดับประเด็นเข้าสู่การ • แนวโน้มหรือแบบแผนที่ระบุได้ เช่น เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นซ้ำาแล้วซ้ำาเล่า อาจเกิดขึ้นในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง
รับรู้ของผู้บริหารระดับสูงถ้าหากพลาดเส้นตายไปแล้ว การทำาเช่นนี้อาจช่วย เป็นบทเรียนสำาหรับพื้นที่นั้นๆ หรือเกิดในหลายพื้นที่ เป็นบทเรียนสำาหรับบริษัททั้งองค์กร
สร้างแรงจูงใจให้ฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทำางานเชิงรุกได้ • เสียงสะท้อนจากพนักงานในพื้นที่ ซึ่ง “ติดดิน” หรืออาศัยอยู่ในชุมชนท้องถิ่น อาจพบเห็นและได้ยิน
• การติดตามผลที่เป็นระบบในแง่นี้สามารถเน้นให้เห็นว่าประเด็น สิ่งที่ฝ่ายจัดการไม่รับรู้
สิทธิมนุษยชนนั้นเกี่ยวข้องกับบริษัททั้งบริษัท ส่งเสริมให้บุคลากรคิด • ตัวชี้วัดเชิงพฤติกรรมอาจช่วยพยากรณ์ผลกระทบในอนาคตได้ ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหากบุคลากร
เชิงป้องกัน ไม่ใช่เพียงแต่หาทางรับมือเมื่อเกิดประเด็นขึ้น ของบริษัทแสดงกิริยาดูถูกเหยียดหยามชุมชนท้องถิ่น กิริยานี้ก็มักเป็นตัวชี้วัดที่บ่งชี้ได้ว่าความเสี่ยง
ด้านสิทธิมนุษยชนอาจไม่ถูกระบุหรือจัดการ
• เสียงสะท้อนจากผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบ รวมทั้งกลุ่มเปราะบางหรืออยู่ชายขอบ ช่วยให้บริษัท
ทำาความเข้าใจได้ว่าพวกเขามองบริษัทอย่างไร
การเชื่อมโยงผลประกอบการด้านสิทธิมนุษยชนเข้ากับการประเมินผลงานของพนักงาน
• การระบุผลกระทบที่แตกต่างกันระหว่างผู้หญิงกับผู้ชาย หรือระหว่างกลุ่มคนที่มาจากชนกลุ่มน้อย
ศาสนา หรือชาติพันธุ์ที่แตกต่างกัน
ข้อมูลผลประกอบการด้านสิทธิมนุษยชนที่ดีจะสามารถผลักดันการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องภายในบริษัท และอาจ
มีประสิทธิผลสูงสุดเมื่อข้อมูลนั้นถูกใส่เข้าไปในการประเมินผลงานของฝ่ายหรือหน่วยธุรกิจ ตลอดจนบุคลากรรายบุคคล
ในทุกส่วนของธุรกิจที่ส่งอิทธิพลต่อความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน ยกตัวอย่างเช่น
การสร้างสมดุลระหว่างตัวชี้วัดเชิงปริมาณกับตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณที่ดีนั้นเป็นประโยชน์ในการสื่อสารอย่างชัดเจนว่า บริษัทจัดการกับความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน
ได้ดีเพียงใด โดยเฉพาะถ้าหากบริษัทของคุณมีบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ หรือทางเทคนิคค่อนข้างมาก
• บริษัทอาจกำาหนดให้ผู้จัดการต้องอนุมัติกระบวนการประเมินผลประจำาปี พวกเขาเหล่านี้อาจคุ้นเคยกับข้อมูลที่เป็นตัวเลข บริษัทของคุณเคยรายงานเหตุร้ายที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรและผู้รับเหมา
ซึ่งรวมถึงผลประกอบการด้านสิทธิมนุษยชนในพื้นที่โครงการด้วย เคยติดตามจำานวนวันที่เกิดเหตุครั้งสุดท้ายอย่างไร บริษัทก็อาจรายงานในทำานองเดียวกันสำาหรับเหตุการณ์ที่ส่งผล
• ถ้าหากการสอบสวนชี้ว่าบุคลากรคนใดคนหนึ่งมีส่วนร่วมกับผลกระทบ กระทบต่อชุมชนท้องถิ่น อย่างไรก็ดี ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพก็มักจะจำาเป็นเช่นเดียวกันในการช่วยให้บริษัทตีความข้อมูล
ด้านสิทธิมนุษยชนขั้นรุนแรง บุคลากรคนนั้นก็อาจถูกลงโทษ ในแง่ตัวเงิน เชิงปริมาณเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
(เช่น หักเงินเดือน) หรือไม่ใช่ตัวเงิน
• เมื่อใดที่การกระทำาของบุคลากรช่วยป้องกันผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน ยกตัวอย่างเช่น จำานวนเรื่องร้องเรียนผ่านกลไกของบริษัทที่ค่อนข้างต่ำาอาจสะท้อนว่าเกิดเหตุน้อยลง หรืออาจ
ขั้นรุนแรง บุคลากรคนนั้นก็อาจได้รับรางวัล ทั้งที่เป็นตัวเงินหรือไม่ใช่ตัวเงิน สะท้อนว่าสมาชิกในชุมชนไม่เชื่อมั่นในกลไกดังกล่าวก็เป็นได้ การสอบถามคนที่เข้าข่ายจะใช้กลไกดังกล่าวจึงจำาเป็น
เพื่อสื่อสารให้ชัดว่าบริษัทให้คุณค่ากับการใส่ใจในสิทธิมนุษยชน ในการทำาความเข้าใจว่า การตีความแบบใดที่ถูกต้อง
70 71