Page 77 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 77
กรอบการท�า HRDD 7
เรื่องนี้ส�าคัญอย่างไร?
ขอบเขตและขีดจ�ากัดของความรับผิดชอบ
• บริษัทไม่อาจแสดงความรับผิดชอบว่าเคารพสิทธิมนุษยชนอย่างเต็มที่ได้ จนกว่าจะมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาของบริษัท
เชิงรุกในการแก้ไขผลกระทบที่บริษัทก่อหรือมีส่วนก่อ
• ผลกระทบเชิงลบอาจเกิดขึ้นอยู่ดี ต่อให้บริษัทได้ใช้ความพยายามอย่างเต็มที่แล้วก็ตาม เมื่อใดที่บริษัทสร้างผลกระทบหรือมีส่วนสร้างผลกระทบ บริษัทก็มีความรับผิดชอบที่จะหยุดการมีส่วนร่วม แก้ไข
ในเมื่อปฏิบัติการและความสัมพันธ์ทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องมีความซับซ้อนอย่างยิ่ง ปัญหาหรือมีส่วนร่วมในการแก้ไข ไม่ว่าจะผ่านกระบวนการศาลหรือกระบวนการอื่นๆ นอกเหนือจากกระบวนการ
• บริษัทต้องเตรียมพร้อมที่จะรับมือกับสถานการณ์ที่ต้องลงมือแก้ไข จะได้ตอบสนองอย่างทันท่วงที ทางกฎหมายที่ได้รับการยอมรับว่า “ชอบธรรม” ยกตัวอย่างเช่น กระบวนการที่เป็นธรรมและเป็นอิสระ มีความรับผิด
และมีประสิทธิผล กระบวนการแก้ไขให้ถูกต้องที่เข้มแข็งสามารถป้องกันผลกระทบ และก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับสิทธิมนุษยชน นอกจากนี้ กลไกเยียวยาอาจทำาผ่าน “กลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับ
ไม่ให้รุนแรงกว่าเดิม หรือป้องกันไม่ให้ความขัดแย้งเกิดขึ้น
ปฏิบัติการ” ของบริษัทเอง (ดูรายละเอียดได้ในหัวถัดไป)
บริษัทไม่จำาเป็นจะต้องแก้ไขกรณีต่อไปนี้
ขั้นตอนที่จ�าเป็น
• ผลกระทบที่บริษัทไม่ได้ก่อ และไม่มีส่วนก่อ กรณีนี้ความรับผิดชอบเป็นของผู้ที่ก่อหรือมีส่วน
ก่อผลกระทบ อย่างไรก็ดี ในกรณีที่ผลกระทบเชื่อมโยงกับการประกอบกิจการของบริษัท
1 การออกแบบกระบวนการติดตามผลอย่างเป็นระบบ บริษัทก็มีความรับผิดชอบที่จะใช้อำานาจต่อรองในการป้องกันหรือบรรเทาความเสี่ยงที่ผลกระทบ
จะดำาเนินต่อไปหรือเกิดขึ้นอีกในอนาคต
• ผลกระทบที่บริษัทถูกกล่าวหาว่าก่อหรือมีส่วนก่อ และบริษัทปฏิเสธข้อกล่าวหา อย่างไรก็ดี
การมีระบบที่เอื้ออำานวยต่อการเยียวยาจะชี้ให้เห็นว่า บริษัทสามารถฟื้นฟูความเคารพในสิทธิมนุษยชน บริษัทอาจต้องสืบสวนให้ชัดเจน และหลีกเลี่ยงการกีดกันกระบวนการอันชอบธรรมที่จะสืบสวน
อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิผลถ้าหากเกิดผลกระทบขึ้น วิธีที่เป็นระบบวิธีหนึ่งที่บริษัทจะแก้ไขผลกระทบได้คือ และตัดสินประเด็น ไม่ว่าจะผ่านกระบวนการศาลหรือกระบวนการทางบริหารก็ตาม
การจัดทำากลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับปฏิบัติการ
การนิยาม “การแก้ไขที่ถูกต้อง” และ “การเยียวยา” อย่างไรก็ตาม บริษัทจะต้องให้ความสำาคัญกับประเด็นที่ว่า บริษัทมีส่วนในการสร้างผลกระทบขององค์กรอื่นๆ
ในห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ของบริษัทหรือไม่ ยกตัวอย่างเช่นกรณีต่อไปนี้
การแก้ไขให้ถูกต้อง (Remediation) หมายถึง กระบวนการที่จะเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้น ซึ่งมีได้หลายรูปแบบ
รวมถึงการขอโทษ การฟื้นฟู การชดเชยทั้งทางการเงินและที่ไม่ใช่การเงิน และมาตรการลงโทษ (เช่น โทษทางอาญา
หรือโทษทางบริหาร เช่น ค่าปรับ) รวมถึงการป้องกันความเสียหายผ่านคำาสั่งห้ามของศาล หรือหลักประกันว่าจะไม่เกิด • การจ้างบริษัทรักษาความปลอดภัยโดยไม่ผ่านกระบวนการคัดเลือกที่ดีพอ กระบวนการซึ่งจะเผยว่า
ซ้ำาอีก การเยียวยาบางรูปแบบอาจเป็นกระบวนการทางกฎหมาย หลายรูปแบบอาจทำาผ่านกระบวนการอื่นด้วย บริษัทนี้มีแนวโน้มที่จะใช้กำาลังอย่างไม่เหมาะสม
• การกดดันคู่ค้าให้นำาส่งผลิตภัณฑ์ภายใต้เงื่อนไขที่นำาไปสู่การใช้แรงงานเกินขนาด หรือทำางาน
บริษัทควรพยายามทำาความเข้าใจว่า ผู้ที่ได้รับผลกระทบมองทางเลือกต่างๆ ในการเยียวยาอย่างไร พวกเขา ล่วงเวลาโดยไม่ได้รับค่าตอบแทน
คิดว่าทางเลือกใดที่มีประสิทธิผลสูงสุดในสถานการณ์ของพวกเขา บริษัทควรหาทางอภิปรายประเด็นนี้กับผู้ร้องเรียน • การว่าจ้างผู้รับเหมาที่ไม่มีกลไกคุ้มครองด้านสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมเพียงพอ ส่งผลให้เกิดความเสี่ยง
โดยตรง สำารวจทางเลือกต่างๆ ทุกวิถีทางที่ทำาได้ นอกจากนี้ บริษัทอาจสร้างหลักประกันว่าผู้ร้องเรียนมีแหล่งให้ ด้านสุขภาพ
คำาปรึกษาของตนเอง เพื่อสร้างความมั่นใจว่าผู้ร้องเรียนจะมีข้อมูลที่ครบถ้วนในการมองหนทางเยียวยาผลกระทบ
ในกรณีที่บริษัทตกลงกับผู้ร้องเรียนเรื่องวิธีเยียวยาไม่ได้ ปกติการตัดสินใจขั้นสุดท้ายจะต้องอาศัยกลไกที่เป็นอิสระ
และชอบธรรม ไม่ว่าจะผ่านกระบวนการศาล กระบวนการทางบริหาร หรือกระบวนการอื่นๆ ที่ตกลงกันล่วงหน้า
76 77