Page 78 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 78
กรอบการท�า HRDD 7
บทบาทของกลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับปฏิบัติการ
เหตุผลในการวางระบบเพื่อวิธีแก้ไขที่ถูกต้อง
ความพยายามด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัทควรเน้นเรื่องการป้องกันผลกระทบเชิงลบไม่ให้เกิดตั้งแต่ต้น แต่ต่อให้ กลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับปฏิบัติการ คือ วิถีทางการที่ผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบจะสามารถใช้ในการบอก
บริษัทมีนโยบายและกระบวนการที่ดีที่สุดแล้วก็ตาม ผลกระทบเชิงลบก็มีโอกาสเกิดขึ้นได้เสมอ ยกตัวอย่างเช่น บริษัทเกี่ยวกับผลกระทบที่พวกเขาเชื่อว่าบริษัทสร้าง เพื่อขอรับการเยียวยา กลไกนี้ควรช่วยระบุปัญหาตั้งแต่เนิ่นๆ
ก่อนที่ปัญหาจะลุกลาม และส่งมอบทางออกซึ่งรวมถึงการเยียวยาให้กับทุกคนที่ได้รับผลกระทบ
• ปัจเจกบุคคลกระทำาการผิดพลาด ในกรณีของบุคลากรและแรงงานที่มีตัวแทนสหภาพแรงงานแล้ว กระบวนการแรงงานสัมพันธ์ที่ฝ่ายจัดการ
• เกิดประเด็นไม่คาดฝันซึ่งบริษัทไม่มีความพร้อมที่จะรับมือ มีส่วนร่วม รวมถึงการทำางานของสหภาพแรงงานเอง ก็นับเป็นรูปแบบหนึ่งของกลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับปฏิบัติการ
• พันธมิตรทางธุรกิจ คู่ค้า ผู้รับเหมา หรือหน่วยงานภาครัฐละเมิดสิทธิมนุษยชน
ในทางที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจของบริษัทในบางมิติ กลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับปฏิบัติการที่เปี่ยมประสิทธิผลจะช่วยสนับสนุนกระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชน
• ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียเปลี่ยนแปลงไป วิธีปฏิบัติซึ่งเคยตกลงกัน อย่างรอบด้านของบริษัท และช่วยปลูกฝังความเคารพในสิทธิมนุษยชนในองค์กร โดยเฉพาะด้วยวิธีต่อไปนี้
ก่อนหน้านี้ถูกท้าทาย
บริษัทอาจได้รับรู้เกี่ยวกับผลกระทบในอดีตหรือในปัจจุบันผ่านกระบวนการประเมิน อย่างเช่น กระบวนการ • สนับสนุนการสนทนาภายในเกี่ยวกับผลกระทบและวิธีรับมือ
ตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (ดังอธิบายในส่วนอื่นๆ ของคู่มือฉบับนี้) หรือผ่านช่องทางอื่น เช่น • กระบวนการออกแบบกลไกดังกล่าวอาจมีส่วนสร้างบทสนทนาที่ว่านี้แล้ว
• ช่วยระบุ และเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบ จากมุมมองของผู้มี
ส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบ ซึ่งจุดนี้ช่วยให้ข้อมูลต่อกระบวนการประเมิน
ผลกระทบได้
• กระบวนการให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วม
• การสังเกตของบุคลากรในพื้นที่ • ให้ข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิผลของการตอบสนองของบริษัทต่อผลกระทบ
• ข้อมูลจากองค์กรหรือกลุ่มบุคคลต่างๆ ที่ทำางานกับผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับ ช่วยให้บริษัทติดตามผลการดำาเนินงานในส่วนนี้ได้
ผลกระทบ (อาทิ NGO สหภาพแรงงาน เป็นต้น) • เป็นเครื่องพิสูจน์ว่าบริษัทให้ความสำาคัญอย่างแท้จริงกับข้อกังวลของ
• นักวิจัย ผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบ ดังนั้นจึงช่วยในการสร้างความไว้วางใจ
• รายงานข่าว และเสริมสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย
• กำาหนดความรับผิดต่อผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน ในแง่นี้จึงขาดไม่ได้
ในการปลูกฝังความเคารพต่อสิทธิมนุษยชนในองค์กร
• ปรับปรุงคุณภาพของข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบ เรื่องร้องเรียน และความ
ในกรณีเหล่านี้ บริษัทจะต้องมีกระบวนการที่ชัดเจนว่าจะตอบสนองอย่างไรต่อสถานการณ์ที่เกิดการละเมิด สัมพันธ์กับชุมชนให้กับฝ่ายจัดการ ช่วยสนับสนุนให้ฝ่ายจัดการส่งเสริมกลไก
สิทธิมนุษยชน หรือถูกกล่าวหาว่าเกิดการละเมิดสิทธิ มิฉะนั้นบริษัทอาจลงเอยด้วยการตอบสนองอย่างปัจจุบันทันด่วน ดังกล่าว
ต่อกรณีที่มีความอ่อนไหวสูง ส่งผลให้ผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบไม่ได้รับการเยียวยาอย่างเพียงพอ เกิดผลกระทบขึ้น • สาธิตให้เห็นจุดอ่อนในนโยบาย ขั้นตอน หรือวิถีปฏิบัติของบริษัท ช่วยให้
หรือทวีความรุนแรง หรือความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทกับผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบเสียหายเกินเยียวยา เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
บริษัทสามารถเยียวยาผ่านกระบวนการต่างๆ รวมถึงผ่านขั้นตอนที่ตกลงกันล่วงหน้าเกี่ยวกับการชดเชยค่าที่ดิน
และการโยกย้ายถิ่นฐานของชุมชน ผ่านการเจรจาต่อรองกับสหภาพแรงงานหรือตัวแทนพนักงานรูปแบบอื่น หรือผ่าน
แผนปฏิบัติการที่เขียนขึ้นใหม่เพื่อรับมือกับปัญหาที่ค้นพบผ่านการตรวจสอบหรือกระบวนการทบทวนการปฏิบัติงาน
นอกจากนี้ บริษัทก็สามารถเยียวยาผ่านกลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับปฏิบัติการได้
78 79