Page 66 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 66
กรอบการท�า HRDD 7
การประกอบกิจการในพื้นที่ขัดแย้ง
5 การลงมือปฏิบัติในบริบทความเสี่ยงสูง
หลักการชี้แนะ UNGP ชี้ชัดว่าการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ร้ายแรงที่สุดที่เกี่ยวข้องกับบริษัทนั้นเกิดขึ้นในบริบทของ
บริษัทไม่ได้มีความรับผิดชอบต่อสิทธิมนุษยชนมากขึ้นในบริบทความเสี่ยงสูง แต่บริบทความเสี่ยงสูงทำาให้บริษัท ความขัดแย้ง ไม่ว่าจะเป็นความขัดแย้งที่ฝังรากลึกหรือในรัฐที่เปราะบาง รัฐบาลมักจะไม่มีกำาลังหรือไม่ยินยอมที่จะปฏิบัติ
เผชิญกับความท้าทายมากขึ้น รัฐบาลควรมีบทบาทสำาคัญในการสนับสนุนบริษัทในแง่นี้ รวมทั้งการสนับสนุนความ หน้าที่คุ้มครองสิทธิมนุษยชนในกรณีแบบนี้ และอาจมีส่วนละเมิดสิทธิมนุษยชนเสียเอง บริบทเช่นนี้อาจต้องใช้กลยุทธ์
พยายามของบริษัทที่จะประเมินและรับมือกับความเสี่ยง ในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนสูงมาก บริษัท การจัดการความเสี่ยงที่เฉพาะเจาะจง ยกตัวอย่างเช่น
ควรให้ความสำาคัญเป็นพิเศษกับความเสี่ยงของการละเมิดหรือมีส่วนในการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นรุนแรง ซึ่งอาจมี
นัยทางกฎหมายสำาหรับบริษัทด้วย
• ให้ความสนใจมากขึ้นกับการทำาแผนที่ผู้มีส่วนได้เสียที่น่าจะได้รับผลกระทบ
และให้พวกเขาเข้ามามีส่วนร่วมอย่างกว้างขวางกว่าปกติ
การประกอบธุรกิจในพื้นที่ซึ่งรัฐบาลล้มเหลวในการปกป้องสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบ • ทำาความเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงประวัติศาสตร์และพลวัตของความขัดแย้ง
• ประเมินว่าการตัดสินใจหรือการกระทำาใดๆ ของบริษัทช่วยซ้ำาเติมความ
หลักการชี้แนะ UNGP คาดหวังให้บริษัทเคารพสิทธิมนุษยชนที่ได้รับการยอมรับในสากล และทำาตามกฎหมาย
ของประเทศนั้นๆ ไปพร้อมกัน ในกรณีที่กฎหมายขัดแย้งกับสิทธิมนุษยชนสากล บริษัทก็ควรเคารพสิทธิมนุษยชนสากล ขัดแย้งหรือไม่
เท่าที่จะทำาได้ และควรอธิบายได้ว่ากำาลังพยายามอย่างไร เมื่อใดที่กฎหมายดูขัดแย้งกับสิทธิมนุษยชนสากล กระบวนการ • อาศัยบุคคลที่สามที่น่าเชื่อถือมาช่วยประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน
ประเมินของบริษัทก็ควรระบุความเสี่ยงข้อนี้ได้อย่างถูกต้อง จากนั้นบริษัทก็ควรสำารวจขอบเขตความขัดแย้งที่ว่านี้ และติดตามผลประกอบการด้านนี้ของบริษัท
ยกตัวอย่างเช่น • ปรับปรุงระบบของบริษัทให้มั่นใจว่า มันจะสามารถระบุและตอบสนอง
ต่อระดับความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและคาดการณ์ไม่ได้
• ให้ผู้บริหารระดับสูงมีส่วนร่วมมากขึ้นในกระบวนการจัดการความเสี่ยง
• ขอคำาชี้แจงจากรัฐบาล • เพิ่มความโปร่งใสที่เกี่ยวข้องกับความพยายามของบริษัทที่จะรับมือกับ
• ท้าทายมาตราที่เกี่ยวข้องของรัฐในกรณีที่ทำาได้ ความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน ตราบใดที่ทำาได้โดยไม่ทำาให้สถานการณ์
• เรียนรู้จากประสบการณ์ของบริษัทอื่นในธุรกิจเดียวกัน เลวร้ายกว่าเดิม
ในการพิจารณาว่าบริษัทจะทำาตามหลักสิทธิมนุษยชนสากลอย่างไร อาจเป็นประโยชน์ที่จะหารือกับผู้เชี่ยวชาญ
ภายนอกและผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบ หรือตัวแทนของพวกเขา เพื่อรับฟังมุมมองของพวกเขาถึงวิธีที่บริษัทจะ 7.3
พิจารณาใช้ กระบวนการติดตาม ทบทวน รายงานและปรับปรุง
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับปัญหา
หลักการชี้แนะ UNGP คาดหวังอะไรจากบริษัท?
ยิ่งบริษัทเตรียมความพร้อมของบุคลากรในการรับมือกับปัญหา ผ่านการอบรม ฉากทัศน์ (Scenarios) แลกเปลี่ยน
บทเรียน และวิธีอื่นๆ มากเพียงใด บริษัทก็จะพร้อมมากเพียงนั้นในการรับมือกับสถานการณ์ที่ท้าทาย ด้วยวิธีอย่างเช่น
• บริษัทจะต้องติดตามตรวจสอบปฏิกิริยาของตนต่อผลกระทบด้าน
สิทธิมนุษยชนทั้งที่เกิดขึ้นแล้วและมีแนวโน้มว่าจะเกิด เพื่อประเมินว่า
• ออกแนวทางที่เฉพาะเจาะจงสำาหรับสถานการณ์ความเสี่ยงสูง อาทิ บริษัทจัดการกับผลกระทบเหล่านั้นได้อย่างมีประสิทธิผลหรือไม่ การติดตาม
กระบวนการโยกย้ายถิ่นฐาน กลไกชดเชย หรือการมีส่วนร่วมกับชนพื้นเมือง ที่ว่านี้ควรอาศัยตัวชี้วัดเชิงคุณภาพและปริมาณที่เหมาะสม และสอบถาม
• ขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในกรณีที่เกิดปัญหาใหญ่ เช่น ความคิดเห็นจากภายในและภายนอกองค์กร รวมทั้งจากผู้มีส่วนได้เสีย
ส่งผู้เชี่ยวชาญไปประกบเจ้าหน้าที่ภาคสนามในการดำาเนินกระบวนการ ที่ได้รับผลกระทบด้วย
• มอบหมายบุคลากรต่างฝ่ายให้มีความรับผิดชอบต่อการระบุสถานการณ์
ความเสี่ยงสูง และให้ร่วมกันพัฒนากลยุทธ์ที่เหมาะสม
66 67