Page 87 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 87
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
การเข้าถึงสิทธิทางการศึกษาของกลุ่มเด็กด้อยโอกาส หรือการศึกษาทางเลือก โรงเรียนเคลื่อนที่ การฝึกวิชาชีพ
กลุ่มเด็กด้อยโอกาสทางสังคม อาทิ เด็กยากจน รวมถึงต้องมีการพัฒนาครูเพื่อจัดการศึกษาให้กลุ่มเด็ก
พิเศษ เด็กที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล เด็กพิการและเด็กที่มี ดังกล่าวด้วย ๑๑๔
ความต้องการพิเศษด้านการเรียนรู้ เด็กในสถานพินิจ
และคุ้มครองเด็กและเยาวชน เด็กเร่ร่อน เด็กไร้สัญชาติ การประเมินสถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค
เด็กที่ติดตามแรงงานต่างด้าว และเด็กที่อยู่ร่วมกับ ในปี ๒๕๖๑ รัฐบาลได้มีนโยบายและมาตรการต่าง ๆ
เอชไอวี/เอดส์ เป็นต้น ซึ่งมีจ�านวนไม่ต�่ากว่า ๕ ล้านคน ในการประกันสิทธิทางการศึกษา และมีความพยายาม
๑๑๐
ทั่วประเทศหรือคิดเป็นร้อยละ ๓๖ ของประชากร อย่างต่อเนื่องที่จะด�าเนินการเพื่อบรรลุสิทธิทางการศึกษา
เด็กที่มีอายุต�่ากว่า ๑๘ ปี ในจ�านวนนี้ ร้อยละ ๘๐ โดยล�าดับ ซึ่งสอดคล้องกับข้อ ๑๓ ของกติกา ICESCR
เป็นกลุ่มเด็กยากจน ร้อยละ ๔.๔ เป็นกลุ่มเด็กพิการ รัฐบาลยังคงตระหนักถึงความส�าคัญของการเข้าถึงสิทธิ
ที่ขาดโอกาสและเด็กที่มีความต้องการพิเศษด้านการเรียนรู้ ทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยได้สนับสนุน
และร้อยละ ๖ เป็นกลุ่มเด็กชาติพันธุ์ที่ยังไม่มีการขึ้น งบประมาณคิดเป็นร้อยละ ๑๗.๒ ของงบประมาณรายจ่าย
ทะเบียน กลุ่มเด็กด้อยโอกาสทางสังคมเหล่านี้ ทั้งประเทศ แม้จะลดลงไปร้อยละ ๑.๒ เมื่อเทียบกับ
๑๑๑
ยังไม่สามารถเข้าถึงสิทธิทางการศึกษาได้อย่างเท่าเทียมกับ งบประมาณด้านการศึกษาในปี ๒๕๖๐ แต่รัฐบาล
เด็กทั่วไป แม้ว่ากระทรวงศึกษาธิการโดยคณะกรรมการ ได้ด�าเนินการให้เกิดความก้าวหน้าเพื่อให้การเข้าถึง
ส่งเสริมการจัดการศึกษาส�าหรับคนพิการได้เห็นชอบ สิทธิทางการศึกษาเป็นไปอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
กับแผนการจัดการศึกษาส�าหรับคนพิการ ฉบับที่ ๓
(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) แต่มีเด็กพิการและเด็กที่มี
๑๑๒
ความต้องการพิเศษด้านการเรียนรู้ที่เข้าถึงสิทธิ
ทางการศึกษาในระบบโรงเรียนเพียงหนึ่งในสี่ นอกจากนี้ยังมี
กลุ่มเด็กเร่ร่อนบนถนนซึ่งประมาณการว่ามีเด็กเร่ร่อน
ที่เป็นเด็กไทยกว่า ๓๐,๐๐๐ คน และเด็กต่างชาติ
ไม่น้อยกว่า ๒๐,๐๐๐ คนที่ไม่อยู่ในระบบโรงเรียน ๑๑๓
คณะกรรมการประจ�าอนุสัญญา CRC ได้มีข้อสังเกต
ทั่วไปเรื่องสถานการณ์เด็กเร่ร่อนบนถนนว่ารัฐควร
ต้องมีกฎหมายที่เหมาะสม มีมาตรการการช่วยเหลือบิดา
มารดา ผู้ดูแลเด็กและครอบครัวเพื่อยุติสถานการณ์
เด็กเร่ร่อนบนถนน โดยเด็กกลุ่มดังกล่าวควรต้องได้รับ
การประกันสิทธิทางการศึกษาที่เหมาะสมและมีคุณภาพ
โดยไม่มีค่าใช้จ่าย โดยได้เข้าถึงการศึกษาระบบโรงเรียน
๑๑๐ ส�านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชนได้มีการจ�าแนกลักษณะเด็กด้อยโอกาสออกเป็น ๑๔ ประเภท ตามลักษณะปัญหา สาเหตุ และแนวทางช่วยเหลือ
ที่แตกต่างกันไป ออกเป็น ๔ กลุ่มใหญ่ ได้แก่ ๑. กลุ่มเด็กเปราะบางทางเศรษฐกิจ ได้แก่ เด็กยากจนพิเศษ และเด็กที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล ๒. กลุ่มเด็กพิการที่ขาดโอกาสและเด็กที่มี
ความต้องการพิเศษด้านการเรียนรู้ ๓. กลุ่มเด็กเปราะบางทางสังคม ได้แก่ เด็กก�าพร้า เด็กที่ใช้สารเสพติด กลุ่มแม่วัยรุ่น กลุ่มเด็กในสถานพินิจ และ ๔. กลุ่มปัญหาเฉพาะ ได้แก่
เด็กเร่ร่อน เด็กไร้สัญชาติ เด็กติดเชื้อเอชไอวี เด็กถูกบังคับใช้แรงงาน/บังคับให้ค้าประเวณี เด็กติดตามแรงงานต่างด้าว เด็กด้อยโอกาสในพื้นที่ชายแดนภาคใต้.
จาก เด็กด้อยโอกาส จุดพลิกผันอนาคตของชาติ น. ๙ – ๑๖. โดย ดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ, ๒๕๕๗, นนทบุรี: บริษัท มาตา การพิมพ์ จ�ากัด. ลิขสิทธิ์ ๒๕๕๗ โดย ส�านักงาน
ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.).
๑๑๑ จาก ไทยมีเด็กด้อยโอกาสไม่ต�่ากว่า 5 ล้านคน 80% เป็นเด็กยากจน, โดย ส�านักข่าว Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.hfocus.org/content/
2018/01/15222
๑๑๒ จาก คลอดแผนการศึกษาคนพิการฉบับที่ 3, โดย เดลินิวส์, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.dailynews.co.th/education/627475
๑๑๓ จาก สถานการณ์เด็กเร่ร่อนบนท้องถนนประเทศไทยจากการสัมมนา 4 ภาค, โดย มูลนิธิสร้างสรรค์เด็ก , ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.fblcthai.org
๑๑๔ From General Comment No. 21 (2017) on children in street situations of the Committee on the Rights of the Child (paras. 54-55), by United
Nations Economic and Social Council, 2017. Retrieved from https://tbinternet.ohchr.org/_layouts/treatybodyexternal/Download.aspx?symbolno=
CRC%2fC%2fGC%2f21&Lang=en
86