Page 89 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 89

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          การศึกษาขั้นพื้นฐาน  ๑๕  ปี  ที่รัฐมีหน้าที่จัดการให้   รวมถึงมีการจัดการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นเหมาะสมกับ
          โดยไม่มีค่าใช้จ่าย กลุ่มที่มีอัตราการเข้าเรียนต�่าคือ กลุ่มเด็ก   กลุ่มเป้าหมาย
          ก่อนวัยเรียนและกลุ่มเด็กในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
          นอกจากนี้ กลุ่มเด็กด้อยโอกาสทางสังคมที่นอกเหนือ     ๒. รัฐควรเร่งรัดพัฒนาคุณภาพการศึกษาในทุกระดับชั้น

          จากกลุ่มเด็กยากจน เด็กพิการและเด็กที่มีความต้องการ  อย่างต่อเนื่อง โดยการอบรมและพัฒนาครูให้มีความรู้
          พิเศษทางด้านการเรียนรู้ที่รัฐมีนโยบายให้ความช่วยเหลือ   และทักษะที่เหมาะสมในการสอน มีการจัดหาอุปกรณ์
          ชัดเจนแล้ว  ยังอาจมีเด็กกลุ่มอื่นที่มีอุปสรรค       และสื่อการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ รวมถึงการน�า
          ในการเข้าถึงการศึกษา เช่น เด็กในสถานพินิจฯ เด็กเร่ร่อน    เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้สนับสนุนการด�าเนินการ

          เด็กที่ติดตามแรงงานข้ามชาติ และเด็กที่อยู่ร่วมกับเอชไอวี   ดังกล่าว ตลอดจนมีการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์
          /เอดส์ เป็นต้น ในด้านคุณภาพการศึกษา ผลการทดสอบ      ของการด�าเนินการตามนโยบายและมาตรการต่าง ๆ
          ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของประเทศที่มี       เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นระยะ ๆ
          ค่าเฉลี่ยต�่ากว่าร้อยละ ๕๐ โดยมีความสัมพันธ์กับขนาด

          และที่ตั้งของโรงเรียน (ใน/นอกเขตเมือง) สะท้อนถึงปัญหา  ๓.  ในการจัดการศึกษา  รัฐควรมุ่งพัฒนาบุคลิกภาพ
          ของคุณภาพการศึกษาโดยรวม รวมถึงปัญหาความเหลื่อมล�้า   ความถนัดและสามารถทางร่างกายและจิตใจของเด็ก
          ของคุณภาพการศึกษาตามขนาดและที่ตั้งของโรงเรียน       ให้เต็มตามศักยภาพของเด็กแต่ละคนตามแนวทาง
                                                              ในอนุสัญญา CRC และควรพัฒนาการศึกษาในระดับ

          ข้อเสนอแนะ                                          มัธยมศึกษาทั้งในสายสามัญและสายอาชีพเพื่อพัฒนา
          ๑. รัฐควรเร่งด�าเนินการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา     ทักษะในการประกอบอาชีพด้านต่าง ๆ ส�าหรับเยาวชน
          เพื่อให้เด็กและเยาวชนทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษาที่มี   ที่ต้องการเข้าสู่ตลาดแรงงาน
          คุณภาพอย่างทั่วถึง  สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ

          แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยให้ความส�าคัญ  ๔. รัฐควรมีการติดตามการปฏิรูปการศึกษาอย่างเป็น
          กับกลุ่มเด็กที่มีอัตราการเข้าถึงการศึกษาต�่า คือ กลุ่มเด็ก   ระบบและเป็นระยะ ๆ เพื่อให้ทราบความคืบหน้าหรือ
          ก่อนวัยเรียนและเด็กในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย         ปัญหาอุปสรรคในการด�าเนินการและก�าหนดแนวทาง
          เด็กที่ด้อยโอกาสทางสังคมกลุ่มต่าง  ๆ  รวมทั้งเด็ก   ในการแก้ไข รวมทั้งควรมีการก�าหนดตัวชี้วัดที่สอดคล้อง

          ที่ออกจากโรงเรียนกลางคัน รัฐควรวิเคราะห์ถึงสาเหตุที่เป็น   กับเป้าหมายเพื่อประโยชน์ในการประเมินผล
          อุปสรรคในการเข้าถึงการศึกษาและมีมาตรการเพื่อขจัด    การด�าเนินการปฏิรูป และควรเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าว
          อุปสรรคในการเข้าถึงการศึกษาส�าหรับเด็กแต่ละกลุ่ม    ให้สาธารณชนทราบด้วย






























       88
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94