Page 85 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 85
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
๒. ความเหลื่อมล�้าในการเข้าถึงสิทธิทางการศึกษา ๑,๖๙๖,๔๓๓ คน (นักเรียนยากจน ๑,๐๗๕,๔๗๖ คน
ในส่วนความเหลื่อมล�้าจากปัจจัยทางกายภาพ และนักเรียนยากจนพิเศษ ๖๒๐,๙๓๗ คน) โดยภาคเหนือ
ในเชิงพื้นที่ มีแนวโน้มว่าเด็กในพื้นที่เขตเมืองจะมีโอกาส เป็นภูมิภาคที่มีนักเรียนยากจนพิเศษหนาแน่นที่สุด
ได้เข้าถึงสิทธิทางการศึกษามากกว่าเด็กในพื้นที่นอกเขตเมือง โดยเฉพาะจังหวัดที่เป็นพื้นที่สูงและติดชายแดน
โดยมีจ�านวนปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากรที่สูงกว่า จังหวัดที่มีเด็กยากจนพิเศษมากที่สุด ๑๐ อันดับแรก
เด็กและเยาวชนที่อาศัยในกรุงเทพมหานครและจังหวัด ได้แก่ แม่ฮ่องสอน ตาก นราธิวาส ยะลา น่าน สตูล
ปริมณฑล รวมถึงจังหวัดที่เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ เชียงใหม่ ปัตตานี นครราชสีมา และมหาสารคาม ๑๐๔
ในแต่ละภาคจะมีโอกาสในการเข้าถึงสิทธิ นอกจากนี้ การผิดนัดช�าระหนี้ของผู้กู้เงินกองทุนเงิน
ทางการศึกษาที่ดีกว่าจังหวัดอื่น ๆ ในภาคเดียวกัน ให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาภายใต้พระราชบัญญัติกองทุนเงิน
๑๐๒
ส่วนความเหลื่อมล�้าที่เกิดจากปัจจัยทางเศรษฐกิจ พบว่า ให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่มีเป็นจ�านวนมาก
ในกลุ่มประชากรเด็กที่มีอายุต�่ากว่า ๑๘ ปี จ�านวน ๑๓.๘ ล้านคน ท�าให้รัฐต้องสนับสนุนงบประมาณจ�านวนที่สูงขึ้น
เป็นเด็กด้อยโอกาสไม่ต�่ากว่า ๕ ล้านคน ในจ�านวนนี้ ให้กับกองทุน จนอาจท�าให้กองทุนขาดความยั่งยืน
ร้อยละ ๘๐ เป็นเด็กยากจน ในปี ๒๕๖๑ กองทุน ในทางการเงินและไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์
๑๐๓
เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ร่วมกับส�านักงาน ในการลดความเหลื่อมล�้าอันเนื่องจากปัจจัยทางเศรษฐกิจ
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ท�าการส�ารวจ ซึ่งน�าไปสู่การรอนโอกาสการเข้าถึงสิทธิทางการ
สถานะของนักเรียนยากจนและยากจนเป็นพิเศษ ศึกษาของนักเรียน/นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์
ของประเทศไทยซึ่งมีแนวโน้มที่จะออกจากโรงเรียนกลางคัน หรือประสงค์จะศึกษาสาขาวิชาที่เป็นความต้องการ
เพื่อจัดสรรเงินอุดหนุนช่วยเหลือเพิ่มเติม จากการส�ารวจ ในการพัฒนาประเทศ หรือศึกษาสาขาขาดแคลน
๑๐๕
พบว่า มีนักเรียนยากจนและยากจนพิเศษรวมทั้งสิ้น
๑๐๒ แหล่งเดิม. โดยจ�านวนปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากรไทยอายุ ๑๕-๓๙ ปี มีจ�านวนปีการศึกษาเฉลี่ย ๑๑.๔ ปี ในเขตพื้นที่เทศบาล และ ๑๐.๒ ปี ในพื้นที่นอกเขตเทศบาล.
๑๐๓ จาก สถานการณ์เด็กด้อยโอกาสในสังคมไทย, โดย กระทรวงสาธารณสุข, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.moph.go.th/index.php/news/read/1183
๑๐๔ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ร่วมกับส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ใช้เกณฑ์การคัดกรองนักเรียนยากจนด้วยวิธีการวัดรายได้
ทางอ้อม (Proxy Mean Tests : PMT) พบว่า มีนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การคัดกรองแบบ PMT ที่มีรายได้ครัวเรือนน้อยกว่า ๓,๐๐๐ บาทต่อคน/เดือน และมีภาระพึ่งพิง ที่อยู่อาศัย
ทรุดโทรม ไม่มียานพาหนะ เป็นเกษตรกรที่ไม่มีที่ดินท�ากิน รวมทั้งหมด ๑,๖๙๖,๔๓๓ คน โดยแบ่งเป็นนักเรียนยากจน ๑,๐๗๕,๔๗๖ คน และนักเรียนยากจนพิเศษ ๖๒๐,๙๓๗
คน ซึ่งกลุ่มหลังเป็นกลุ่มที่ต้องได้รับการช่วยเหลือเร่งด่วน เพราะครอบครัวมีรายได้เฉลี่ยต่อคน ๑,๒๘๑ บาทต่อเดือน หรือเฉลี่ยวันละ ๔๒.๗ บาท เท่านั้น.
จาก เด็กยากจน 1.69 ล้านคน พวกเขาและเธออยู่ที่ไหน, โดย กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.eef.or.th/เด็กยากจน/
๑๐๕ จาก กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา ล้มหรือไม่ล้ม เงินงบประมาณจะต้องเอามาถมอีกแค่ไหน?, โดย ผศ.ดร.อานนท์ ศักดิ์รวิชญ์ และวสุรัตน์ กลิ่นหอมรื่น, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก
https://mgronline.com/daily/detail/9610000076769
84