Page 92 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 92
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
๔. การจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มาตรา ๔๗ วรรคสอง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ของกรุงเทพมหานคร ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องบุคคลที่ไม่ต้องจ่ายค่าบริการ (ฉบับที่ ๒)
(Universal Coverage Scheme : UCS) เพื่อเพิ่ม พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งมีผลท�าให้ประชาชนผู้มีรายได้น้อย
๑๒๔
ความมั่นคงทางการเงินของกองทุนตามประกาศ ที่ได้ขึ้นทะเบียนและถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ จ�านวน
คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการก�าหนด ๑๑.๔ ล้านคนทั่วประเทศ สามารถเข้าถึงสิทธิในการรับ
หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้กรุงเทพมหานครด�าเนินงาน บริการด้านสุขภาพของรัฐในระบบหลักประกันสุขภาพ
และบริหารระบบหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร แห่งชาติโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ๓๐ บาท ๑๒๕
พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
๑๒๒
จะอ�านวยให้ประชากรในกรุงเทพมหานครกว่า ๘ ล้านคน ๖. การด�าเนินการให้ประชาชนสามารถเข้าถึงสิทธิ
เข้าถึงสิทธิในการรับบริการสาธารณสุขในระดับปฐมภูมิ ในการได้รับการป้องกันและขจัดโรคติดต่อจากรัฐ
ของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่ดีขึ้น ๑๒๓ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายซึ่งสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๔๗ วรรคท้าย บทที่ ๓
ประชาชนผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติสามารถเข้ารับวัคซีนได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย เช่น
วัคซีนโรคพิษสุนัขบ้า เมื่อมีสถานการณ์การระบาด
๕. การด�าเนินการให้ผู้ยากไร้สามารถเข้าถึงสิทธิ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ในการรับบริการสาธารณสุขโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายซึ่งสอดคล้อง
กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
๑๒๑ ในปี ๒๕๖๑ พระสงฆ์จะได้รับการขึ้นทะเบียนทั้งหมด ๔๐,๐๐๐ รูป และจะด�าเนินการขึ้นทะเบียนพระสงฆ์ทั่วประเทศ ประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ รูป ให้เสร็จภายในปี ๒๕๖๓
จาก Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ, โดย ส�านักข่าว Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.hfocus.org/
๑๒๒ จาก ประกาศคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การก�าหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้กรุงเทพมหานครด�าเนินงานและบริหารระบบหลักประกันสุขภาพ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๖๑.
๑๒๓ กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นจะสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกที่จ�าเป็นต่อสุขภาพ
และการด�ารงชีวิตของประชาชน โดยในปี ๒๕๖๑ กทม. ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จ�านวน ๓๖๐ ล้านบาท เฉลี่ยคิดเป็น ๔๕ บาท
ต่อหัวของประชากรที่มีสิทธิทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยกรุงเทพมหานครจะสมทบเพิ่มร้อยละ ๖๐ จากงบประมาณที่ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจัดสรรให้
คิดเป็นจ�านวน ๒๑๖ ล้านบาท เฉลี่ยสมทบประมาณ ๒๗ บาทต่อหัว รวมเป็นงบทั้งสิ้น ๕๗๖ ล้านบาท เฉลี่ย ๗๒ บาทต่อหัวประชากรที่มีสิทธิในพื้นที่กรุงเทพฯ จ�านวน ๘ ล้านคน.
จาก คนกรุง 8 ล้านคนเฮ! รับสิทธิ ‘กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร’, โดย ประชาชาติธุรกิจ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.prachachat.net/breaking-news/
news-191209
๑๒๔ จาก ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง บุคคลที่ไม่ต้องจ่ายค่าบริการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑, โดย Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.hfocus.org/
sites/default/files/files_upload/prakaas_sth._2561 _bukhkhlthiiaimtngcchaaykhaabrikaar.pdf
๑๒๕ จาก “มาตรการสวัสดิการแห่งรัฐ นวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาความยากจน”, โดย ส�านักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, ๒๕๖๑, วารสารไทยคู่ฟ้า (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑),
น.๒. ลิขสิทธิ์ ๒๕๖๑ โดย ส�านักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี.
91