Page 84 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 84
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
๔. การลดความเหลื่อมล�้าของปัจจัยทางเศรษฐกิจ ๑. การเข้าถึงสิทธิทางการศึกษา แม้ว่าร้อยละ ๖๒
ในเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๑ รัฐบาลโดยคณะกรรมการ ของงบประมาณการศึกษาทั้งหมดได้สนับสนุนการศึกษา
อิสระเพื่อการปฏิรูปด้านการศึกษาได้จัดท�า ในระดับก่อนวัยเรียน ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา
พระราชบัญญัติกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา ก็ตาม แต่ในปีการศึกษา ๒๕๖๐ มีนักเรียนที่อยู่
๙๘
พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้มีการประกาศพระราชบัญญัติดังกล่าว ในระบบโรงเรียนร้อยละ ๘๑.๕ ต่อประชากรวัยเรียน
ในเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๑ ท�าให้มีการจัดตั้งกองทุนขึ้น โดยระดับการศึกษาที่มีสัดส่วนนักเรียนต่อประชากร
เพื่อลดความเหลื่อมล�้าในการเข้าถึงสิทธิทางการศึกษา วัยเรียนค่อนข้างน้อย คือ ระดับก่อนวัยเรียน ระดับ
และเสริมสร้างพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพของครู มัธยมศึกษาตอนปลาย และระดับปริญญาตรีและต�่ากว่า
กองทุนดังกล่าว จะช่วยให้เด็กและเยาวชนที่ยากจน คือร้อยละ ๘๐.๑, ๗๘.๗ และ ๔๙.๑ ตามล�าดับ
๙๙
ในทุกระดับชั้นมีโอกาสเข้าถึงสิทธิทางการศึกษามากขึ้น ส่วนจ�านวนเด็กออกจากระบบโรงเรียนกลางคัน
ทั้งในรูปแบบการให้เปล่า การให้ยืม หรือการให้กู้เงิน มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยในปีการศึกษา ๒๕๖๐
รวมถึงการพัฒนาคุณภาพครู ได้ปีละ ๔ ล้านคนและ มีจ�านวน ๔,๐๓๘ คน หรือเพียงร้อยละ ๐.๐๗ ของประชากร บทที่ ๓
๙๕
จะแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชนไทยที่ออกจากระบบ วัยเรียนทั้งหมด ในภาพรวมเด็กและเยาวชนไทย
๑๐๐
การศึกษาได้ภายใน ๑๐ ปี ๙๖ อายุ ๑๕ ปี มีจ�านวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพียง ๘.๖ ปี ๑๐๑
ในปี ๒๕๖๑ รัฐได้สนับสนุนงบประมาณด้านการศึกษา
เป็นเงิน ๕๒๓,๕๖๙.๔ ล้านบาท จากงบประมาณ
แผ่นดินทั้งหมด ๓,๐๕๐,๐๐๐ ล้านล้านบาท คิดเป็นร้อยละ
๑๗.๒ ของงบประมาณทั้งหมดของประเทศ
หรือคิดเป็นร้อยละ ๓.๒ ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ
(GDP) ถึงแม้ว่าเด็กและเยาวชนได้รับการประกัน
๙๗
การเข้าถึงสิทธิทางการศึกษาของรัฐ โดยรัฐมีหน้าที่
ด�าเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๕ ปีโดยไม่เก็บ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ค่าใช้จ่าย แต่การเข้าถึงสิทธิทางการศึกษายังมีข้อท้าทาย
ในประเด็นดังต่อไปนี้
๙๕ พระราชบัญญัติกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกาศใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๖๑ และส่งผลให้มีการจัดตั้งกองทุนเพื่อความเสมอภาค
ทางการศึกษา (กสค.) เพื่อลดความเหลื่อมล�้าทางการศึกษาและเสริมสร้างพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพของครู โดยรัฐได้จัดสรรงบประมาณให้กองทุนและให้กองทุน
มีการบริหารจัดการที่เป็นอิสระ โดยบทเฉพาะกาลของพระราชบัญญัติดังกล่าวให้ส�านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) โอนภารกิจเป็นส�านักงาน
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา.
จาก พระราชบัญญัติกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑. (๒๕๖๑, ๑๓ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา, ๑๓๕ (ตอนที่ ๓๓ก), ๑ – ๑๘.
๙๖ จาก กองทุนเสมอภาคการศึกษา 3 หมื่น ล. ช่วยผู้ไร้โอกาส 4 ล้านคน, โดย โพสต์ทูเดย์, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.posttoday.com/politic/report/542093
๙๗ จาก ตาราง ๔.๑ งบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษาต่อ GDP และงบประมาณด้านการศึกษาต่องบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ ๒๕๓๕ – ๒๕๖๒, โดย ส�านักงาน
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, [๒๕๖๑]. สืบค้นจาก http://social.nesdb.go.th/SocialStat/StatReport_FullScreen.aspx?reportid=3511&template=
1R1C&yeartype-M&subcatid=22
๙๘ จาก ตารางที่ ๔.๒ งบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษา จ�าแนกตามระดับการศึกษา ปีงบประมาณ ๒๕๓๕ – ๒๕๖๒. แหล่งเดิม.
๙๙ จากระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวิต ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติพบว่า ข้อมูลจ�านวนและร้อยละของนักเรียน นิสิต นักศึกษา ในระบบโรงเรียน
ต่อประชากรในวัยเรียน จ�าแนกตามระดับการศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๐ มีนักเรียนที่อยู่ในระบบการศึกษาคิดเป็นร้อยละ ๘๑.๕ ของประชากรในวัยเรียนทั้งหมด แบ่งเป็นระดับ
ก่อนประถมศึกษาร้อยละ ๘๐.๑ ระดับประถมศึกษาร้อยละ ๑๐๑.๕ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นร้อยละ ๙๖.๔ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ ๗๘.๗ และระดับปริญญาตรี
และต�่ากว่าร้อยละ ๔๙.๑ ของประชากรวัยเรียนในแต่ละระดับ.
จาก รายงานค่าสถิติทั้งหมดในหมวดหมู่การศึกษา, โดย ส�านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, [๒๕๖๑]. สืบค้นจาก http://social.nesdb.go.th/SocialStat/
StatReport_Final.aspx?reportid=1362&template=2R1C&yeartype=M&subcatid=19
๑๐๐ แหล่งเดิม.
๑๐๑ แหล่งเดิม.
83