Page 90 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 90

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            ๓.๒ สิทธิด้านสุขภาพ


            ภาพรวม
            ประเทศไทยเป็นภาคีกติกา ICESCR ซึ่งก�าหนดให้รัฐ      ๑.  การเข้าถึงสิทธิในการรับบริการสาธารณสุข

            มีหน้าที่รับรองสิทธิของทุกคนที่จะมีสุขภาพกายและ     ของรัฐ
            สุขภาพจิตตามมาตรฐานสูงสุดที่เป็นไปได้ (the highest    ๑. รัฐบาลได้ด�าเนินการให้มีการจัดท�าแผนการปฏิรูป
            attainable standard of health) และมีขั้นตอน         ประเทศด้านต่าง  ๆ  ตามที่ก�าหนดในรัฐธรรมนูญ
            ในการด�าเนินการเพื่อบรรลุผลในการท�าให้สิทธิเป็นจริง   แห่งราชอาณาจักรไทย  พุทธศักราช  ๒๕๖๐  และ

            อย่างสมบูรณ์ โดยรัฐมีหน้าที่ในการบริการให้ทุกคน     พระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการด�าเนินการปฏิรูป
            เข้าถึงสิทธิได้อย่างเพียงพอ มีคุณภาพเพียงพอที่เหมาะสม   ประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ และได้เสนอแผนดังกล่าวต่อ สนช.
            ตามระดับการพัฒนาประเทศ ซึ่งสอดคล้องรัฐธรรมนูญ       ซึ่งได้รับทราบแผนการปฏิรูปตามที่รัฐบาลเสนอเมื่อวันที่
            แห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๖๐ ที่ก�าหนดให้รัฐ   ๒๙  มีนาคม  ๒๕๖๑  รวมถึงแผนการปฏิรูปประเทศ          บทที่ ๓

            มีหน้าที่ด�าเนินการให้ประชาชนได้เข้าถึงสิทธิในการรับ  ด้านสาธารณสุข  ที่มีเป้าหมายในการท�าให้ “ประชาชน
                                                                             ๑๑๕
            บริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ และ     ทุกภาคส่วนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ  มีส่วนร่วม
            ต้องมีการพัฒนาให้มีคุณภาพและมีมาตรฐานที่สูงขึ้น     ในการวางระบบในการดูแลสุขภาพ ได้รับโอกาสที่เท่าเทียมกัน
            อย่างต่อเนื่อง                                      ในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่จ�าเป็น  และอยู่ใน

                                                                สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะตามหลักปรัชญา
            ในปี ๒๕๖๑ รัฐบาลมีนโยบาย กฎหมาย มาตรการและ          ของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้ระบบสาธารณสุขที่เป็น
            กลไกต่าง ๆ ที่มุ่งให้เกิดความก้าวหน้าทางสิทธิด้านสุขภาพ    เอกภาพและการอภิบาลระบบที่ดี”
            ดังต่อไปนี้                                                                                             การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม






































            ๑๑๕  คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขโดยอาศัยอ�านาจตามพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้จัดท�าแผนการปฏิรูปประเทศ
            ด้านสาธารณสุข ซึ่งมีกรอบระยะเวลา ๕ ปี ในการบรรลุผลตามมาตรา ๒๕๗ ข (๕) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยปรับระบบหลักประกันสุขภาพ
            แห่งชาติ และจัดให้มีระบบการแพทย์ปฐมภูมิเพื่อเป็นการอ�านวยให้เข้าถึงสิทธิด้านสุขภาพได้ดียิ่งขึ้น และลดความเหลื่อมล�้าในเชิงโครงสร้าง โดยในปี ๒๕๖๑ ได้สนับสนุน
            งบประมาณในการด�าเนินการจัดการเป็นจ�านวนเงิน ๑๓.๕๗ ล้านบาท หรือร้อยละ ๐.๐๑ ของงบประมาณในการปฏิรูปประเทศทั้งหมด.


                                                                                                               89
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95