Page 91 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 91
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
๒. รัฐได้ด�าเนินการตามนโยบายการมีส่วนร่วม ได้มีการกระจายอ�านาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ของประชาชนในระบบสุขภาพโดยการสร้างกลไก เป็นผู้บริหารจัดการการให้บริการในกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน
ทางกฎหมายได้แก่ การจัดท�าร่างระเบียบส�านักนายก ตามประกาศคณะกรรมการแพทย์ฉุกเฉิน เรื่อง หลักเกณฑ์
รัฐมนตรีว่าด้วยการเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง พ.ศ. …. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ด�าเนินการ และ
เพื่อให้ชุมชนทั่วประเทศได้เข้ามาท�างานในระบบ บริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินในระดับท้องถิ่น
สุขภาพร่วมกับภาครัฐ การพัฒนาศักยภาพให้กับ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๑๙
๑๑๖
อาสาสมัครสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ได้อบรมหลักสูตรต่าง ๆ ๓. การขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๑๗
ให้ความรู้กับอาสาสมัครสาธารณสุขเพื่ออ�านวยให้ชุมชน โดยคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เป็นกระบวนการที่ขับเคลื่อน
ได้เข้าถึงสิทธิในการบริการสาธารณสุขมูลฐาน ซึ่งเป็น สิทธิด้านสุขภาพได้หลากหลายมิติ เพื่อสุขภาวะที่ดี
ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมในการให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมกับ โดยใช้วัดเป็นศูนย์กลางของสังคม ๑๒๐ การจัดท�า
ภาครัฐในการจัดการระบบสุขภาพ แผนหลักการแพทย์ ฐานข้อมูลพระสงฆ์ โดยส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ฉุกเฉินแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับมหาเถรสมาคม ส�านักงาน
โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน กระทรวงสาธารณสุข พระพุทธศาสนาแห่งชาติ และกรมการปกครอง
เป็นกลไกที่สนับสนุนให้ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม กระทรวงมหาดไทย ซึ่งจะอ�านวยให้พระสงฆ์
(มูลนิธิ/สมาคม) เข้ามามีส่วนร่วมกับภาครัฐ ทั่วประเทศเข้าถึงสิทธิในการรับบริการสาธารณสุขของรัฐ
ในการอ�านวยการบริการในกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน รวมถึง ตามระบบประกันสุขภาพและสิทธิประโยชน์อื่น ๆ
๑๑๘
๑๑๖ จาก คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติได้จัดท�าร่างระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง พ.ศ. .... พร้อมกับรับฟังความเห็นจากทุกภาคส่วน,
โดย ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.thaihealth.or.th
๑๑๗ กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มีบทบาทหน้าที่สร้างจิตส�านึกให้ภาคประชาชนตระหนักว่า เรื่องสุขภาพนั้นเป็นสิทธิและหน้าที่ของทุก ๆ คน ไม่ใช่
เป็นหน้าที่ของแพทย์ พยาบาล หรือวนเวียนอยู่เพียงการรักษาพยาบาล เพื่อน�าไปสู่การสร้างสุขภาพที่ดีอันเป็นเป้าหมายของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ได้พัฒนา
รูปแบบและการด�าเนินงานสาธารณสุขมูลฐานที่ให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในรูปแบบของอาสาสมัครสาธารณสุข ซึ่งเป็นการถ่ายโอนภารกิจในระบบบริการสุขภาพที่ไม่จ�าเป็น
ต้องใช้บุคลากรทางการแพทย์ไปยังอาสาสมัครสาธารณสุข จาก ประวัติความเป็นมา กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กระทรวงสาธารณสุข, โดย กระทรวงสาธารณสุข, ๒๕๖๑.
สืบค้นจาก http://phc.moph.go.th/www_hss/frontend/theme/fe_depart.php?Submit=Phase_1
๑๑๘ จาก แผนหลักการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔), โดย สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.), ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.niems.go.th/th/
Upload/File/255909261057001800_jhiufoX5n8G1OBLW.pdf
๑๑๙ จาก ประกาศคณะกรรมการแพทย์ฉุกเฉิน เรื่อง หลักเกณฑ์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ด�าเนินการ และบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินในระดับท้องถิ่น
พ.ศ. ๒๕๖๐, โดย สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.), ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.niems.go.th/th/Upload/File256012011615138954_TrcQAJH3JBBhdWny.pdf
๑๒๐ จาก จดหมายข่าวสานพลัง ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑๐๐ เดือนธันวาคม ๒๕๖๑, โดย ส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.nationalhealth.or.th/node2709
90