Page 81 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 81
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
๓.๑ สิทธิทางการศึกษา
ภาพรวม
ประเทศไทยได้ประกันการเข้าถึงสิทธิทางการศึกษา การเข้าถึงสิทธิทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๕ ปี
ให้กับเด็กทุกคนเป็นระยะเวลา ๑๒ ปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียน มีการด�าเนินการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาภายใต้
จนส�าเร็จการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพและไม่มี กรอบการปฏิรูปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ค่าใช้จ่าย โดยถือเป็นหน้าที่ของรัฐในการด�าเนินการ พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมวด ๑๖ มาตรา ๒๕๘ จ (๑) (๒)
ตามมาตรา ๕๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (๓) และ (๔) โดยคณะรัฐมนตรีได้แต่งตั้งคณะกรรมการ
พุทธศักราช ๒๕๖๐ และยังมีการพัฒนาความก้าวหน้า อิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ.) เพื่อจัดท�า
ในการเข้าถึงสิทธิทางการศึกษาโดยเด็กและเยาวชน ข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้บรรลุผล
ได้รับการเข้าถึงสิทธิทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๕ ปี การเข้าถึงสิทธิดังกล่าว โดยในปี ๒๕๖๑ มีกฎหมายที่
โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายอีกด้วย ถือได้ว่าสิทธิทางการศึกษา ประกาศใช้แล้ว ๑ ฉบับ คือ พระราชบัญญัติกองทุน
๘๓
ได้รับการประกันสิทธิโดยมีความก้าวหน้าสูงกว่า เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๘๔
มาตรฐานที่ก�าหนดไว้ในข้อ ๑๓ ของกติกา ICESCR ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์และ
ลดความเหลื่อมล�้าในการศึกษา นอกจากนี้ มีกฎหมาย
ในปี ๒๕๖๑ รัฐได้มีนโยบาย กฎหมาย และมาตรการต่าง ๆ ที่อยู่ระหว่างการจัดท�าอีกหลายฉบับ เช่น ร่างพระราชบัญญัติ
ที่มุ่งให้เกิดความก้าวหน้าสิทธิทางการศึกษาในการเข้าถึง การพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. .... ซึ่งมีการน�าเสนอ
สิทธิทางการศึกษา และลดความเหลื่อมล�้า โดยสามารถ ให้ ครม. พิจารณาเมื่อเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๑
สรุปสาระส�าคัญได้ ดังนี้ โดยสาระส�าคัญของร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวจะอ�านวย
๘๓ จาก ค�าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๒๘/๒๕๕๙ เรื่องให้จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๕ ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย. (๒๕๕๙, ๑๕ มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา, ๑๓๓
(ตอนพิเศษ ๑๓๖ง), ๑๑ – ๑๒.
๘๔ ร่างพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. .... มีสาระส�าคัญดังนี้ (๑) การบูรณาการงานด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย (๒) แนวทางการพัฒนาเด็กปฐมวัย (๓) การวาง
หลักประกันว่าการพัฒนาเด็กปฐมวัยจะด�าเนินไปอย่างถูกต้อง (๔) สถานะของส�านักงานคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย (๕) แนวทางการประกันคุณภาพของการด�าเนินงาน
และการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการแก่เด็กปฐมวัย และ (๖) การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เป็นไปตามความต้องการความจ�าเป็นพิเศษของเด็กแต่ละบุคคล.
จาก ร่างพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ...., โดย คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://drive.google.com/file/d/
1UWbiykZF02R3vydQKOQZ5NxuSRwmjzl0/view
80