Page 67 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 67
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ติดตามรายงานสถานะของคดีทรมานและการบังคับ จะเสนอให้องค์การสหประชาชาติทราบต่อไป นอกจากนี้
ให้หายสาบสูญ โดยเน้นการตรวจสอบสถานะคดี คณะอนุกรรมการป้องกันการกระท�าทรมานและบังคับ
การบังคับบุคคลให้สูญหายที่อยู่ในความสนใจของ ให้หายสาบสูญ ได้ฝึกอบรมหน่วยงาน คณะอนุกรรมการ
องค์การสหประชาชาติ จ�านวน ๘๒ คดี ๒) คณะ และเจ้าหน้าที่ที่มีหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย เพื่อให้
อนุกรรมการเยียวยากรณีถูกกระท�าทรมานและถูกบังคับ สามารถปฏิบัติงานได้ตามแนวทาง มาตรการ และกลไก
ให้หายสาบสูญ มีอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ที่คณะกรรมการฯ ก�าหนด ตลอดจนมีความรู้ความเข้าใจ
๕๙
เป็นประธาน ท�าหน้าที่ศึกษากฎหมายเกี่ยวกับการเยียวยา เกี่ยวกับอนุสัญญา CAT และ CPED รวมทั้งเพื่อเป็น
เหยื่อจากการทรมานและการบังคับให้หายสาบสูญ การป้องกันมิให้เจ้าหน้าที่ละเมิดข้อบทในอนุสัญญาดังกล่าว
๓) คณะอนุกรรมการป้องกันการกระท�าทรมานและบังคับ โดยมีการด�าเนินการลงพื้นที่แล้วจ�านวน ๕ ภูมิภาค
ให้หายสาบสูญ มีศาสตราจารย์ณรงค์ ใจหาญ รวมจ�านวน ๒๕๐ คน ๖๒
๖๐
เป็นประธาน ท�าหน้าที่อบรมหน่วยงานรับเรื่องราวร้องทุกข์
และคณะอนุกรรมการคัดกรองฯ จัดท�าคู่มือการคัดกรอง ๒. สถานการณ์และความคืบหน้ากรณีกล่าวอ้างว่า
คดีทรมานและบังคับบุคคลให้หายสาบสูญ และหารือ ถูกเจ้าหน้าที่ของรัฐกระท�าทรมานหรือบังคับให้สูญหาย
เชิงนโยบาย รวมถึงจัดท�าบันทึกความตกลงร่วมกับ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ ๔) คณะอนุกรรมการคัดกรอง ในปี ๒๕๖๑ กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับ
กรณีถูกกระท�าทรมานและถูกบังคับให้หายสาบสูญ การกระท�าทรมาน จ�านวน ๒๐ ค�าร้อง ซึ่งส่วนใหญ่
๖๑
แยกตามภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศ จ�านวน ๖ ชุด กล่าวอ้างว่าถูกเจ้าหน้าที่ทหารท�าร้ายร่างกายหรือซ้อม
มีผู้อ�านวยการส�านักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพประจ�า ทรมานระหว่างควบคุมตัวเพื่อให้รับสารภาพในความผิด
ภูมิภาค เป็นประธาน ท�าหน้าที่ในการคัดกรองค�าร้อง ที่ถูกกล่าวหา เช่น ค�าร้องที่ ๔/๒๕๖๑ กรณีกล่าวอ้างว่า
กรณีถูกกระท�าทรมานและถูกบังคับให้หายสาบสูญ เจ้าหน้าที่ทหารซ้อมทรมานและท�าร้ายร่างกาย
หากเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในอนุสัญญา CAT หรือ CPED เพื่อบังคับให้รับสารภาพ ค�าร้องที่ ๕๕/๒๕๖๑ กรณี
จะส่งให้กับคณะอนุกรรมการติดตามและตรวจสอบฯ
พิจารณา ทั้งนี้ ในกรณีที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์จะประสาน
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาให้ความช่วยเหลือต่อไป
จากการด�าเนินการของคณะกรรมการจัดการเรื่องราว
ร้องทุกข์กรณีถูกกระท�าทรมานและถูกบังคับให้หาย
สาบสูญข้างต้นปรากฏข้อมูลว่า การติดตามความคืบหน้า
คนที่ถูกบังคับให้หายสาบสูญที่มีการร้องเรียนต่อ
องค์การสหประชาชาตินั้น มีหลักฐานที่สามารถยืนยัน
ได้ว่าไม่ใช่บุคคลที่อยู่ในบัญชีคนถูกบังคับให้หายสาบสูญ
ขององค์การสหประชาชาติ จ�านวน ๑๗ ราย (เนื่องจาก
สาเหตุเสียชีวิต/ชื่อซ�้า/อยู่ในเรือนจ�า/มีชีวิตปกติ) และ
มีความคืบหน้าทางด้านอ�านวยความยุติธรรมและ
การช่วยเหลือเยียวยาอีกจ�านวน ๖๖ ราย ซึ่งคณะกรรมการฯ
๕๙ ค�าสั่งคณะกรรมการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์กรณีถูกกระท�าทรมานและถูกบังคับให้หายสาบสูญ ที่ ๒/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐.
๖๐ ค�าสั่งคณะกรรมการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์กรณีถูกกระท�าทรมานและถูกบังคับให้หายสาบสูญ ที่ ๓/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐.
๖๑ ค�าสั่งคณะกรรมการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์กรณีถูกกระท�าทรมานและถูกบังคับให้หายสาบสูญ ที่ ๑/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑.
๖๒ สรุปผลการด�าเนินงานสิทธิมนุษยชนที่ส�าคัญของประเทศไทย ภายใต้รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ระหว่างปี ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑ (น. ๓๘ – ๓๙), โดย กระทรวงยุติธรรม
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ, ๒๕๖๑, กรุงเทพฯ: กระทรวงยุติธรรม. ลิขสิทธิ์ ๒๕๖๑ โดย กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม.
66