Page 63 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 63
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
๒.๒ การกระท�ทรมาน และการบังคับสูญหาย
ภาพรวม
“การทรมานเพื่อให้ได้มาซึ่งค�ารับสารภาพ หรือการ ภายใต้การเป็นภาคีอนุสัญญา CAT และความพยายาม
ลงโทษที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม รวมถึงการบังคับบุคคล ของรัฐบาลในการให้สัตยาบันอนุสัญญา CPED
สูญหาย ในกรณีที่บุคคลนั้นไม่ยอมให้ความร่วมมือ ประเทศไทยยังคงประสบปัญหาการกล่าวอ้างว่า
กับรัฐหรือมีการกระท�าอันเป็นอุปสรรคหรือต่อต้าน เจ้าหน้าที่ของรัฐกระท�าทรมานและบังคับสูญหาย
การท�างานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็นการกระท�าที่ถือ ซึ่งเป็นผลมาจากการใช้อ�านาจและการปฏิบัติหน้าที่ในการ
ได้ว่าเป็นการละเมิดต่อสิทธิมนุษยชน” ข้อความ จับกุมและควบคุมตัวบุคคล สะท้อนให้เห็นว่าประเทศไทย
๔๔
ข้างต้นนับเป็นการถ่ายทอดและชี้ให้เห็นถึงความส�าคัญ อาจขาดหลักประกันที่เพียงพอในการน�าไปสู่การสืบสวน
ของสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกายของบุคคล สอบสวนและติดตามจับกุมตัวผู้กระท�าความผิด
ที่จะไม่ถูกกระท�าทรมานหรือบังคับสูญหายโดยเฉพาะ มาลงโทษ ที่ผ่านมามีกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับการกระท�า
จากการใช้อ�านาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งสิทธิและเสรีภาพนี้ ทรมานหรือการบังคับสูญหาย เช่น นายสมชาย นีละไพจิตร
ได้รับการรับรองในกติกา ICCPR อนุสัญญา CAT และ นายพอละจี (บิลลี่) รักจงเจริญ และนายเด่น ค�าหล้า
๔๕
อนุสัญญา CPED ดังนั้น ประเทศไทยในฐานะรัฐภาคี เป็นต้น บุคคลดังกล่าวเป็นผู้ที่มีบทบาทในการต่อสู้
๔๖
ของกติกา ICCPR และอนุสัญญา CAT และได้แสดง เรียกร้องความเป็นธรรมให้กับประชาชนที่เข้าไม่ถึง
เจตนาว่าจะเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา CPED จึงมีหน้าที่ ความยุติธรรม การเข้าใช้ประโยชน์ในที่ดินท�ากินและ
ในการด�าเนินการป้องกันมิให้เกิดการกระท�าทรมาน ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งมีโอกาสท�าให้เกิดความขัดแย้ง
และการบังคับสูญหาย กับเจ้าหน้าที่ของรัฐ จากข้อจ�ากัดและสภาพปัญหา
๔๔ จาก กลไกในการป้องกันการทรมานและการบังคับให้บุคคลสูญหาย, โดย ณรงค์ ใจหาญ, ๒๕๖๐. สืบค้นจาก https://siamrath.co.th/n/19059
๔๕ ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีเมื่อปี ๒๕๕๕.
๔๖ คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ไทยเข้าเป็นภาคีอนุสัญญานี้ และ สนช. ได้เห็นชอบตามที่ ครม. เสนอเมื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๐.
62