Page 71 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 71

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          ๑)  แม้ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม          ทรมานและการบังคับให้สูญหายโดยเฉพาะในชั้นการจับกุม
          การทรมานและการกระท�าให้บุคคลสูญหายฯ ที่ สนช.        และการควบคุมตัวยังคงปรากฏอยู่อย่างต่อเนื่อง และเป็นที่
          มีมติรับหลักการ มีหลักการและสาระส�าคัญตามอนุสัญญา   น่าสังเกตว่า เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ถูกร้องเรียนโดยส่วนใหญ่
          CAT แล้วก็ตาม แต่ในการด�าเนินการตามรัฐธรรมนูญฯ      มักเป็นเจ้าหน้าที่ทหาร สถานการณ์เช่นนี้จึงพอสะท้อนได้ว่า

          มาตรา ๗๗ กระทรวงยุติธรรมได้ยกร่างพระราชบัญญัติ      เจ้าหน้าที่ในฝ่ายทหารยังขาดความรู้ความเข้าใจ
          ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระท�าให้           ในการปฏิบัติงานที่ต้องค�านึงผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพ
          บุคคลสูญหายฯ ขึ้นเพื่อรับฟังความคิดเห็นเป็นการเฉพาะ   ในเนื้อตัวร่างกายของบุคคล และการจัดการอบรมให้ความรู้แก่
          ซึ่งมีการตัดหลักการส�าคัญบางประการตามอนุสัญญา       เจ้าหน้าที่อาจยังไม่เพียงพอหรือไม่มีประสิทธิผลเท่าที่ควร

          CAT ออกไป โดยเฉพาะหลักการไม่สามารถผ่อนปรนได้
          และหลักการห้ามผลักดันกลับไปเผชิญอันตราย             ข้อเสนอแนะ
          รวมทั้งเมื่อ ครม. เสนอผลการด�าเนินการดังกล่าวต่อ    ๑.  ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกัน
          สนช.  ได้ปรากฏความเห็นของกระทรวงยุติธรรม            และปราบปรามการทรมานและการกระท�าให้บุคคลสูญหายฯ

          ให้ถอดหลักการส�าคัญดังกล่าวออกไปจากร่าง             สนช. ควรค�านึงถึงความสอดคล้องกับอนุสัญญา CAT
          พระราชบัญญัติฯ ซึ่งจะมีผลท�าให้ร่างพระราชบัญญัติฯ     โดยเฉพาะการบัญญัติรับรองหลักการไม่สามารถผ่อนปรนได้
                                                       ๖๙
          ไม่สอดคล้องกับหลักการส�าคัญของอนุสัญญา  CAT         และหลักการห้ามผลักดันกลับไปเผชิญอันตราย เพื่อประกัน
          หากกฎหมายภายใต้แนวคิดดังกล่าวมีผลบังคับใช้          ว่าหลักการของอนุสัญญา CAT จะมีผลในทางปฏิบัติ

          บุคคลจะไม่ได้รับการปกป้องคุ้มครองจากการถูกกระท�า
          ทรมานและการบังคับสูญหายอย่างเพียงพอ                 ๒. ในระหว่างที่มีการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกัน
                                                              และปราบปรามการทรมานและการกระท�าให้บุคคล
          ๒) จากข้อมูลเรื่องร้องเรียนต่อ กสม. ที่ยังคงมีกรณีกล่าวอ้างว่า   สูญหายฯ กระทรวงยุติธรรมควรด�าเนินการสร้างความเข้าใจ

          บุคคลถูกเจ้าหน้าที่ของรัฐกระท�าการทรมาน อาจประเมินได้ว่า   ต่อสังคมและหน่วยงานอื่นของรัฐ ถึงความส�าคัญและ
          การกระท�าของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่อาจน�าไปสู่การกระท�า  ความจ�าเป็นในการป้องกันและปราบปรามการทรมาน






























          ๖๙  จาก ส�าเนาหนังสือกระทรวงยุติธรรม ด่วนที่สุด ที่ ยธ ๐๔๐๕/๔๔๗๙ ลงวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๑ เรื่อง ผลการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภานิติบัญญัติ
          แห่งชาติ [เกี่ยวกับรายงานของคณะกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการบังคับให้หายสาบสูญ
          และร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมาน และการกระท�าให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. .... (คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ)] และการด�าเนินการตามมาตรา ๗๗ วรรคสอง
          ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เกี่ยวกับพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระท�าให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. ...., โดย กระทรวงยุติธรรม, ๒๕๖๑, กรุงเทพฯ:
          กระทรวงยุติธรรม อ้างถึงใน หนังสือส�านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๕๐๓/๔๐๔๔๖ ลงวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๑ สืบค้นจาก http://library.senate.go.th/document/
          mSubject/Ext84/84162_0003.PDF


       70
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76