Page 72 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 72

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            และการกระท�าให้บุคคลสูญหาย  ทั้งนี้เพื่อให้เกิด     ๔. กระทรวงยุติธรรม โดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
            การยอมรับ สนับสนุน และท�าให้โอกาสที่ร่างพระราชบัญญัติ   ควรร่วมกับหน่วยงานที่มีหน้าที่และอ�านาจในการจับกุม
            ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระท�าให้           คุมขังบุคคล จัดการฝึกอบรมเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจ
            บุคคลสูญหายฯ จะได้รับการพิจารณาและประกาศใช้         เกี่ยวกับเรื่องสิทธิมนุษยชนต่อเจ้าหน้าที่ทั้งในระดับ

            เป็นกฎหมายเป็นจริงได้มากขึ้น                        นโยบายและระดับปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ทั้งนี้
                                                                โดยการพิจารณาเชิงพื้นที่หรือลักษณะการปฏิบัติงาน
            ๓. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงกลาโหม กระทรวงยุติธรรม    ที่ปรากฏข้อมูลหรือมีโอกาสว่าจะละเมิดสิทธิมนุษยชน
            และส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ควรมีมาตรการก�ากับ       รวมทั้งมีการประเมินและรายงานผลว่าหลังจากเจ้าหน้าที่  บทที่ ๒

            ดูแลและตรวจสอบให้เจ้าหน้าที่ในสังกัดปฏิบัติ         ได้รับการอบรมแล้ว การถูกร้องเรียนหรือกล่าวหาว่ามี
            หน้าที่โดยค�านึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อสิทธิ    การละเมิดสิทธิมนุษยชนเพิ่มขึ้นหรือลดลงหรือไม่ อย่างไร
            และเสรีภาพในเนื้อตัวและร่างกายของบุคคลอย่างจริงจัง


            ๒.๓ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ



            ภาพรวม
            สิทธิและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น  และ

            เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ ได้รับ
            การรับรองไว้ในกติกา ICCPR ข้อ ๑๙ ที่บัญญัติว่า บุคคล
            มีสิทธิที่จะมีความเห็นโดยปราศจากการแทรกแซง                                                              การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
            มีสิทธิในเสรีภาพแห่งการแสดงออกรวมถึงเสรีภาพที่จะ

            แสวงหา รับ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและความคิดเห็น
            ทุกประเภท และข้อ ๒๑ ที่บัญญัติว่า สิทธิในการชุมนุม
            โดยสงบย่อมได้รับการรับรอง  โดยการใช้สิทธิและ
            เสรีภาพดังกล่าวต้องมีหน้าที่  และความรับผิดชอบ

            พิเศษควบคู่ไปด้วย  และรัฐอาจจ�ากัดสิทธิเช่นว่าได้
            โดยต้องบัญญัติไว้ในกฎหมายด้วยเหตุผลความจ�าเป็น
            ต่อ (ก) การเคารพในสิทธิหรือชื่อเสียงของบุคคลอื่น
            และ  (ข)  การรักษาความมั่นคงแห่งชาติ  หรือ

            ความสงบเรียบร้อย หรือการสาธารณสุข หรือศีลธรรม
            ของประชาชน ส่วนรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย         ประชาธิปไตยเนื่องจากเป็นช่องทางหนึ่งที่ท�าให้ประชาชน
            พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของปวงชน      มีส่วนร่วมในการให้ความเห็น ติดตาม และตรวจสอบ
            ชาวไทย ได้รับรองสิทธิและเสรีภาพต่าง ๆ ของบุคคล      การปฏิบัติงานของรัฐบาลได้  และมีความเชื่อมโยง

            ซึ่งรวมถึงเสรีภาพที่จะแสดงความคิดเห็น  เสรีภาพ      กับสิทธิในการมีส่วนร่วมโดยตรงในการบริหารงาน
            ทางวิชาการ เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจาก       ของรัฐ  ซึ่งเป็นสิทธิที่ได้รับการรับรองในข้อ  ๒๕
            อาวุธ และเสรีภาพในการเสนอข่าวสารหรือการแสดง         ของกติกา ICCPR
            ความคิดเห็นตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพ ทั้งนี้ การส่งเสริม

            และคุ้มครองเสรีภาพในการแสดงออกซึ่งความคิดเห็น       ในปี  ๒๕๖๑  รัฐบาลมีความพยายามในการพัฒนา
            ตลอดจนเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจาก            โครงสร้างการปฏิบัติงานของรัฐ  ให้ความส�าคัญ
            อาวุธถือเป็นพื้นฐานส�าคัญในการปกครองระบอบ           กับการด�าเนินมาตรการควบคุมดูแลและรักษาความสงบ



                                                                                                               71
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77