Page 70 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 70

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑


















                                                                                                                    บทที่ ๒
















            ๑) การจัดการรับฟังความคิดเห็นต่อร่างพระราชบัญญัติ   ข้อบทที่ ๑๒ ซึ่งก�าหนดให้มีกลไกสืบสวนการกระท�า

            ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระท�า              ทรมานที่เป็นกลาง ปราศจากความล�าเอียง และข้อบท
            ให้บุคคลสูญหายฯ จากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง   ที่ ๑๔ ซึ่งก�าหนดให้ผู้ถูกกระท�าทรมานหรือครอบครัว
            จากประชาชน  ภาคประชาสังคม  ผู้เสียหายและ            ได้รับการเยียวยาผลกระทบที่เกิดขึ้น                  การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
            ครอบครัวผู้เสียหายผ่านช่องทางต่าง ๆ ซึ่งเป็นการ

            ด�าเนินการตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๗๗ และได้แจ้งผล      ๓) แม้การบังคับสูญหายของนายพอละจี รักจงเจริญ (บิลลี่)
            การด�าเนินการให้สภานิติบัญญัติทราบ ท�าให้กระบวนการ  ซึ่งหายตัวไปเมื่อปี ๒๕๕๗ มีการกล่าวอ้างว่าเชื่อมโยง
            พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฯ  มีความคืบหน้า            กับการควบคุมตัวโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ จนเป็นกรณี
            โดยเมื่อวัน  ๒๐  ธันวาคม  ๒๕๖๑  สนช.  ได้มีมติ      ที่น�าไปสู่การพิจารณาพิพากษาของศาล และในที่สุดแล้ว

            เห็นชอบรับหลักการร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว          การพิจารณาดังกล่าวก็ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่า การหายตัวนั้น
            และตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาต่อไป        เกิดจากการกระท�าของเจ้าหน้าที่ของรัฐจริงหรือไม่
                                                                แต่การที่กรมสอบสวนคดีพิเศษ โดยคณะกรรมการคดีพิเศษ
            ๒) ในระหว่างที่ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม   ได้มีมติเมื่อวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๑ รับกรณีกล่าวอ้างว่า

            การทรมานและการกระท�าให้บุคคลสูญหายฯ                 ถูกบังคับสูญหายดังกล่าวเป็นคดีพิเศษนั้น ถือว่าเป็น
            อยู่ระหว่างการด�าเนินการตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๗๗     ความพยายามของรัฐที่ส�าคัญในการสืบสวน สอบสวน
            นั้น ครม. ได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์   ติดตามการหายตัวไปของนายพอละจี เป็นการสร้าง
            กรณีถูกกระท�าทรมานและถูกบังคับให้หายสาบสูญ          ความหวังให้กับครอบครัวและญาติ รวมทั้งเป็นการให้

            ซึ่งมีหน้าที่รับเรื่องราวร้องทุกข์  ตรวจสอบติดตาม   หลักประกันว่ากรณีดังกล่าวจะด�าเนินการโดยหน่วยงาน
            เยียวยา รวมถึงป้องกันการทรมานและการบังคับบุคคล      ที่เป็นกลางแยกต่างหากจากหน่วยงานที่เจ้าหน้าที่
            ให้หายสาบสูญ จึงถือได้ว่า ครม. มีความตระหนักว่า     ผู้ถูกกล่าวว่ามีส่วนในการควบคุมตัวและบังคับสูญหาย
            การกระท�าทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหายเป็น        สังกัดอยู่

            การกระท�าที่กระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของบุคคลและมี
            ความพยายามในการสร้างหลักประกันเพื่อคุ้มครองสิทธิ    อย่างไรก็ตาม  ในปี  ๒๕๖๑  ยังคงมีประเด็นที่เป็น
            ของบุคคลที่ถูกละเมิดสิทธิ สอดคล้องกับอนุสัญญา CAT    ความห่วงใย ดังนี้



                                                                                                               69
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75