Page 69 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 69

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          ให้ปฏิบัติหน้าที่โดยปราศจากความรุนแรงทุกรูปแบบ      โดยกรมสอบสวนคดีพิเศษจะด�าเนินการเร่งรัดสืบสวน
          รวมทั้งพิจารณาก�าหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติ         สอบสวนเพื่อหาพยานหลักฐานเพิ่มเติม โดยไม่มีกรอบระยะ
          ต่อทหารที่กระท�าความผิดโดยค�านึงถึงศักดิ์ศรี        เวลาของการท�างาน และจะอาศัยข้อมูลที่เคยรวบรวมได้
          ความเป็นมนุษย์ ก�าหนดมาตรการช่วยเหลือเยียวยา        ก่อนหน้านี้เป็นแนวทางในการท�าคดีต่อไป  ส�าหรับการรับ
                                                                                               ๖๘
          ผู้เสียหายและครอบครัว และก�าหนดแนวทางป้องกัน        เรื่องร้องเรียนของ กสม. ในปี ๒๕๖๑ พบว่า ยังไม่มี
          ไม่ให้เกิดเหตุการณ์ลักษณะนี้ต่อไป                   การร้องเรียนเกี่ยวกับการบังคับให้สูบหาย
                                        ๖๕

          ในส่วนการบังคับให้สูญหาย แม้ที่ผ่านมาคณะท�างาน      การประเมินสถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค

          ของสหประชาชาติว่าด้วยการบังคับให้บุคคลสูญหาย        คณะรัฐมนตรี และกระทรวงยุติธรรมมีความพยายาม
          หรือโดยไม่สมัครใจได้รับเรื่องร้องเรียนกรณีบุคคล     อย่างต่อเนื่องในการเสนอร่างพระราชบัญญัติป้องกันและ
          ถูกบังคับให้สูญหายในประเทศไทยที่ยังไม่ได้รับ        ปราบปรามการทรมานและการกระท�าให้บุคคลสูญหายฯ
          การคลี่คลายอยู่ถึง ๘๒ กรณี  แต่การด�าเนินการของรัฐ   สร้างกลไกในการรับเรื่องร้องเรียน ตรวจสอบ และป้องกัน
                                  ๖๖
          เพื่อติดตามช่วยเหลือผู้ถูกกระท�าให้สูญหาย รวมถึง    การกระท�าทรมานและการบังคับให้สูญหาย รวมถึงมีกรณี
          การน�าตัวผู้กระท�าผิดเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมยังค่อนข้าง   การบังคับสูญหายที่หน่วยงานที่เป็นกลางรับไว้ด�าเนินการ
          ล่าช้า กรณีตัวอย่างที่ส�าคัญนอกจากการบังคับสูญหาย   อันเป็นการสอดคล้องกับข้อเสนอแนะที่ได้รับจากประเทศ
          ของทนายสมชาย  นีละไพจิตร  ที่ครอบครัวใช้ระยะ        ต่าง ๆ และค�ามั่นโดยสมัครใจของประเทศไทยภายใต้

          เวลาในการต่อสู้คดีมาอย่างยาวนานและพบข้อจ�ากัด       กลไก UPR รอบที่ ๒ และข้อสังเกตของคณะกรรมการ
          ทางกฎหมายในการพิสูจน์ความจริงรวมถึงการขอเข้าเป็น    ประจ�ากติกา ICCPR ต่อรายงานการปฏิบัติตามกติกาฯ
          โจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการแล้ว ยังมีการบังคับสูญหายอีก  ฉบับที่สองของประเทศไทย เมื่อปี ๒๕๖๐ กล่าวคือ
          กรณีที่ส�าคัญ คือ กรณีหายตัวของนายพอละจี รักจงเจริญ

          (บิลลี่) เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๕๗ ที่เชื่อมโยงกับการ
          ควบคุมตัวของเจ้าหน้าที่ของรัฐ แม้ต่อมาภรรยาของ
          นายพอละจีได้ร้องขอต่อศาลให้ไต่สวนความชอบด้วย
          กฎหมายของการควบคุมตัวดังกล่าว แต่ในชั้นพิจารณา

          ของศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ก็ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่า
          นายพอละจีมีชะตากรรมอย่างไร กระทั่งในปี ๒๕๕๘
          ศาลฎีกาได้มีค�าพิพากษายืนตามศาลอุทธรณ์และ
          ศาลชั้นต้นให้ยกฟ้องคดีเนื่องจากไม่มีพยานหลักฐาน

          ที่น่าเชื่อถือที่จะเอาผิดเจ้าหน้าที่ของรัฐ  ต่อมาเมื่อวันที่
                                           ๖๗
          ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๑ กรณีนี้มีความคืบหน้าในเชิงบวก
          มากขึ้นเมื่อการประชุมคณะกรรมการคดีพิเศษ
          ในกรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๑

          เมื่อวันที่  ๒๘  มิถุนายน  ๒๕๖๑  มีมติให้รับคดี
          การหายตัวไปของนายพอละจี รักจงเจริญ เป็นคดีพิเศษ


          ๖๕  จาก ข่าวประชาสัมพันธ์ กสม. ชี้การลงโทษโดยการซ้อมทรมานพลทหารจนได้รับบาดเจ็บ – เสียชีวิต ถือเป็นการละเมิดสิทธิฯ แนะกองทัพบก วางระเบียบการปฏิบัติต่อ
          ทหารตามหลักสิทธิมนุษยชนและให้ใช้บังคับทั่วประเทศ, โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://www.nhrc.or.th/NHRCT-Work/
          Statements-Press-Releases-Open-Letters/Press-Releases/กสม-ชี้การลงโทษโดยการซ้อมทรมานพลทหารจนได้รับบาดเจ็บ.aspx
          ๖๖  จาก ยูเอ็นยินดีไทยลงนามสัตยาบัน ให้การอุ้ม-ทรมานเป็นความผิด เผย มี 82 กรณีค้างอยู่, โดย มติชนออนไลน์, ๒๕๕๙. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/politics/
          news_149089
          ๖๗  จาก 2 ปี การหายตัวไปของบิลลี่ กับสถานการณ์การอุ้มหายในไทย, โดย ส�านักข่าวอิศรา, ๒๕๕๙. สืบค้นจาก https://www.isranews.org/isranews-scoop/46288-artical_
          462883.html
          ๖๘  จาก ดีเอสไอ รับคดีบิลลี่หายเป็นคดีพิเศษ, โดย ประชาไท, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2018/06/77607
       68
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74